หัวข้อ: ผ่อนบ้านคนเดียวไม่ไหว แนะนำสินเชื่อกู้บ้านร่วม กู้อย่างไรให้ผ่านฉลุย เริ่มหัวข้อโดย: waanbotan_ ที่ พฤษภาคม 06, 2024, 04:54:45 pm หากรู้จักกับการกู้ร่วมซื้อบ้าน เป็นการที่หลายคนร่วมกันทำสัญญาซื้อบ้าน ทำให้ธนาคารพิจารณาอนุมัติสินเชื่อได้ง่ายขึ้น เพราะความสามารถในการชำระเงินต้นและดอกเบี้ยที่มีมากขึ้น รวมถึงการมีผู้กู้หลายคนทำให้มีการกระจายความเสี่ยงของการชำระหนี้ และยังได้เงินก้อนที่ใหญ่ขึ้นอีกด้วย
การ กู้บ้านร่วม กันถึงแม้จะมีข้อดี แต่สำหรับผู้กู้หลักและผู้กู้ร่วมมีข้อควรระวังที่ควรรู้ก่อนตัดสินใจกู้รวมกันดังนี้ การ กู้ร่วมซื้อบ้าน หมายถึงการรับภาระหนี้ร่วมกัน ไม่ใช่รับภาระหนี้โดยการหารเฉลี่ยตามจำนวนผู้กู้ ดังนั้นเมื่อมีการค้างชำระหนี้ธนาคารสามารถเรียกชำระหนี้จากผู้กู้คนใดคนหนึ่งได้ สิทธิลดหย่อนทางภาษี ดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้านสามารถใช้ลดหย่อนภาษีได้ โดยหารเฉลี่ยตามจำนวนผู้กู้ ซึ่งแตกต่างจากภาระหนี้ที่ไม่หารเฉลี่ย กรรมสิทธิ์ในบ้านที่กู้สามารถระบุเป็นชื่อของผู้กู้คนใดคนหนึ่งหรือผู้กู้ทุกคนร่วมกัน กรณีที่ระบุชื่อเจ้าของกรรมสิทธิ์ในบ้านมากกว่าหนึ่งคน เมื่อต้องการโอนหรือขายจำเป็นต้องได้รับความยินยอมจากผู้ที่มีกรรมสิทธิ์ทุกคนจึงจะสามารถดำเนินการได้ เมื่อผู้กู้ร่วมเสียชีวิต ธนาคารจะพิจารณาให้ทายาทหรือผู้จัดการมรดกเป็นผู้ชำระหนี้ร่วมกัน เมื่อผู้กู้ถอน การกู้ร่วม เช่น สามีภรรยาที่หย่าร้างกัน หรือผู้กู้ร่วมมีเรื่องไม่พอใจกัน เมื่อมีการถอนกู้ร่วม ธนาคารจะพิจารณาความสามารถในการชำระเงินต้นและดอกเบี้ยของผู้กู้ร่วมที่เหลือจากนั้นทำการรีไฟแนนซ์ กรณีที่ผู้กู้ร่วมไม่สามารถชำระหนี้ได้จำเป็นต้องขายบ้านหลังนั้นไป โดยเงื่อนไขของผู้กู้ร่วม คือ ต้องเป็นญาติซึ่งมีนามสกุลเดียวกัน กรณีที่ผู้กู้ร่วมมีการเปลี่ยนนามสกุลจำเป็นต้องแสดงหลักฐาน เช่น สูติบัตร หรือทะเบียนบ้าน หรือถ้าเป็นคู่สมรสที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสจะต้องแสดงรูปภาพงานแต่งงานหรือหนังสือรับรองบุตร เอกสารการขอสินเชื่อกู้ซื้อบ้านมีดังต่อไปนี้ เอกสารส่วนบุคคล บัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส ใบหย่า ใบมรณบัตร เอกสารเปลี่ยนชื่อนามสกุล และเอกสารอื่นเพื่อยืนยันสถานะทางครอบครัว เอกสารทางการเงินสำหรับพนักงานประจำ หนังสือรับรองเงินเดือน สลิปเงินเดือน สมุดบัญชีธนาคาร รายการเดินบัญชีย้อนหลัง 6 เดือน เอกสารทางการเงินสำหรับผู้ประกอบอาชีพอิสระหรือธุรกิจส่วนตัว หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล สำเนาทะเบียนการค้า หลักฐานรายได้และสินทรัพย์ บัญชีเงินฝาก รายการเดินบัญชีเงินฝากกระแสรายวันย้อนหลัง 6 - 12 เดือน เอกสารหลักประกัน สัญญาจะซื้อจะขาย สำเนาโฉนด หรือสำเนากรรมสิทธิ์ห้องชุด แนะนำว่าควรพิจารณาให้รอบคอบก่อนตัดสินใจ กู้บ้านร่วม ผ่อนบ้าน กรุงไทย กรณีที่ไม่ต้องการพบปัญหาระหว่างการผ่อนชำระหนี้อาจใช้เวลาเก็บเงินให้มากขึ้นหรือเลือกราคาบ้านที่เหมาะสมกับความสามารถในการชำระเงินกู้ รีไฟแนนซ์บ้าน กรุงไทยแทนการกู้ร่วม ศึกษาข้อมูลผ่อนบ้าน เพิ่มเติมที่ http://sawasdmarket.com/view/822755/3-ขั้นตอนช่วยลดดอกเบี้ยค่าบ้าน หรือรีไฟแนนซ์บ้าน ที่ http://sawasdmarket.com/view/822755/3-ขั้นตอนช่วยลดดอกเบี้ยค่าบ้าน
|