ล้อแม็ก แม็ก แม็กล้อ แม็กซ์แต่งรถ ล้อแม็กคุณภาพ รวมล้อแม็กลายใหม่ๆ

Sitemap SMB => สินค้าอื่นๆ => ข้อความที่เริ่มโดย: nitigorn20 ที่ มกราคม 13, 2017, 07:38:34 am



หัวข้อ: กล้องสำรวจภาพสนาม PENTAX มือหนึ่งมือสอง กล้องสำรวจมือสอง กล้องวัดมุม ส่งถึงมือท่
เริ่มหัวข้อโดย: nitigorn20 ที่ มกราคม 13, 2017, 07:38:34 am
ขายอุปกรณ์สำรวจภาคสนาม กล้องไลน์มือสอง LINE/TOPCON/PENTAX กล้องสำรวจใหม่ ส่งไปรณีย์ลงทะเบียน สินค้ามีการตรวจสอบแล้ว ขายอุปกรณ์ตรวจสอบ เสริมคอนกรีต ขาย-ส่งปลีก กล้องระดับ, กล้องวัดมุม, กล้องระดับ TOPCON ราคาถูก
ความสำคัญของการวางเส้นตรงด้วยกล้องวัดมุม
การวางเส้นตรง มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในงานสำรวจ โดยเฉพาะ งานสำรวจเพื่อการก่อสร้างเส้นทาง  เป็นต้น งานสำรวจ
ดังกล่าว เป็นงานสำรวจที่กระทำในพื้นที่แคบๆ แต่ยาวออกไปในภูมิประเทศ จากสถานีหนึ่งไปบรรจบกับอีกสถานีหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการออกแบบกำหนดเส้นทาง (Location) หรือสำรวจเพื่อการก่อสร้างเส้นทาง (Construction)
ความหมายของการวางเส้นตรง หรือ การวางแนวเส้นทาง
การวางเส้นตรง เป็นการวางแนวเพื่อหาเส้นศูนย์กลางของแนวทาง (Center Line) จากสถานีหนึ่งไปบรรจบกับอีกสถานีหนึ่ง เพื่อ
1.1 เป็นแนวศูนย์กลางในการก่อสร้าง

การวางเส้นตรงโดยการเล็งต่อเส้น
 
2.4 ใช้เทปวัดระยะดึงระยะจากหมุด B ไปตามแนวเล็งของกล้องให้ได้ ระยะ 25 เมตร โดยใช้กล้องเล็งแนวตอกหมุด ก็จะได้หมุด C

3. การวางเส้นตรงโดยใช้กล้องหน้าเดียว
3.2 คลายควงบังคับทางราบ ควงบังคับทางดิ่งหมุนกล้องเล็งที่หมุด Z ด้วยกล้องหน้าซ้าย เมื่อได้แนวให้หมุนปิดควงบังคับทางราบ
3.9 คลายควงบังคับทางราบ ควงบังคับทางดิ่ง หมุนกล้องเล็งที่หมุด B ด้วยกล้องหน้าซ้าย เมื่อได้แนวให้หมุนปิดควงบังคับทางราบ

4. การวางเส้นตรงโดยใช้กล้องสองหน้า
 จากการวางเส้นตรง โดยใช้กล้องหน้าเดียว ถ้ากล้องวัดมุมที่ใช้ในการปฏิบัติงานแกนกล้องไม่ตั้งฉาก กับแกนราบของกล้อง ขณะที่กระดกกล้องกลับจะเกิดความผิดขึ้นแนวเล็งของกล้องจะเบี่ยงเบนออกไปจากแนวศูนย์กลาง ทำให้หมุดที่ได้ไม่ตรงกับแนวเส้น A, Z ( ตามรูปที่ 2 ) แต่ถ้ากล้องไม่มีความคลาดเคลื่อน ปัญหาข้างต้นก็จะไม่เกิด เพื่อขจัดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น การวางเส้นตรง ควรวางาง ()วางโดยใช้กล้องสองหน้าหรือที่เรียกว่า การเล็ง 2 ครั้ง (Double Centering)
 
4.4 คลายควงบังคับทางราบ ควงบังคับทางดิ่งหมุนกล้องเล็งที่หมุด Z ด้วยกล้องหน้าขวา เมื่อได้แนวให้หมุดปิดควงบังคับทางราบ
4.10 คลายควงบังคับทางราบ ควงบังคับทางดิ่งหมุนกล้องเล็งที่หมุด A ด้วยกล้องหน้าขวา เมื่อได้แนวให้หมุนปิดควงบังคับทางราบ

การสำรวจทำวงรอบเพื่อหาค่าพิกัดหมุดสำรวจระบบพิกัดฉาก
เพื่อหาค่าพิกัด ของหมุดหลักฐานที่สร้างขึ้นใหม่หรือหมุดสำรวจอื่นๆ ในเขตงาน ซึ่งจะใช้เป็นค่าอ้างอิงสำหรับงานสำรวจเพื่อการก่อสร้างโครงการต่างๆ โดยการวัดมุมและระยะที่เชื่อมต่อระหว่างจุดในลักษณะต่อเนื่องกัน
ขั้นตอนในการปฏิบัติ
1. การตอกมุดสำรวจ
5. การคำนวณ ทำการการตรวจสอบ  การคำนวณหาค่าพิกัด การคำนวณหาค่าพิกัดเฉลี่ยของหมุดสำรวจ
 
ประวัติการสำรวจ
ความเจริญในด้านต่างๆ ของมนุษยชาตินั้น เจริญไก้เพราะความดิ้นรน่จะเสาะสวงหาสิ่งใหม่ๆ  ที่เพิ่มขึ้นเพื่อการยังชีพที่สมบูรณ์ ในด้านวิชาการสำรวจก็เช่นเดี่ยวกัน การสำรวจในสมัยแรกก็เริ่มขึ้นด้วยความพยายามของมนุษย์ที่จะใช้วิธีการสำรวจในการวัดที่ดิน เพื่อจะคำนวนภาษีได้อย่างถูกต้อง จึงคิดวิธีวัดและเครื่องมือขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นตัวแทนอันยาวนานเป็นศตวรรษของความคิด ในที่นี้จะได้กล่าวถึงประวัติของการสำรวจอย่างย่อๆ เพื่อความรู้ความเข้าใจวิชาการสำรวจดีขึ้น
ในสมัยโบราน (Ancient Times) ประวัติศาสตร์การสำรวจในสมัยเริ่มแรกได้เจริญขึ้นควบคู่มากับวิชาคณิตศาสตร์ ตามความเป็นจริงแล้ววิชาคณิตศาสตร์ ได้เจริญขึ้นเพราะการใช้การคำนวณในงานธุรกิจการค้า ซึ่งติดต่อซื่อขายกันในสมัยโบราณ ตัวอย่างเช่นการกำหนดเขตที่ดิน และการวัดที่ดินเพื่อให้ทราบเนื้อที่ ความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์และการสำรวจนั้นได้ปรากฏอยู่ในคณิตศาสตร์สาขาที่เก่าแก่ที่สุด คือ เรขาคณิต (Geometry) ซึ่งมาจากภาษากรีก มีความหมายว่า การวัดที่ดิน (Earth Measurement)

 

 
 
 
Price : 14,900.00 บาท/ชุด


 
 
 
PENTAX AP-281 กำลังขยาย 28เท่า
 
การวัดระยะโดยวิธีทางตรง (Direct Measurement)
เป็นวิธีการวัดที่ตนเองมีการปฏิบัติเพื่อหาความยาวระหว่างจุดหรือตําแหน่งที่ต้องการจริงๆ ได้แก่

2.1.2 การนับก้าว (Pacing)
 เป็นการวัดระยะโดยการเดินนับจํานวนก้าวของช่วงที่ต้องการวัดระยะแล้วเอา จํานวนก้าวคูณด้วยความยาวก้าวก็จะได้ระยะตามต้องการ
 
2.2 การวัดระยะโดยวิธีทางอ้อม (Indirect Measurement)
เป็นวิธีการหาระยะระหว่างจุดที่ต้องการโดยใช้เครื่องมือชนิดต่างๆ และใช้วิธีการคํานวณเข้าช่วย เพื่อคํานวณหาระยะแต่ไม่มีการปฏิบัติเพื่อทําการวัดระยะนั้นๆ ได้แก่

2.2.1 การใช้เครื่องมือสับเทนบาร์ (Subtense Bar) มีขั้นตอนการวัดดังนี้
2) ตั้งสันแทนบาร์ให้ตรงจุดที่จะวัดโดยการทิ้งดิ่ง พร้อมตั้งระดับ

2.2.2 การทําสเตเดีย (Stadia)
เป็นวิธีการวัดระยะด้วยชุดอุปกรณ์การสํารวจ ประกอบด้วยกล้องวัดมุม หรือกล้องระดับ และไม้ระดับ (Staff of Rod) เมื่อเราส่องกล้องวัดมุม หรือกล้องระดับ จะเห็นวงแหวนระนาบสายใย ประกอบด้วยสายใยราบ และสายใยดิ่ง ตัดกันเป็นมุมฉาก มีขีดสั้น 2 ขีด อยู่บนสายใยดิ่ง ขีดสั้น 2 ขีดนี้เรียกว่าสายใยสเตเดีย (Stadia Hairs) ระยะห่างระหว่าสายใยสเตเดียเรียกว่า ช่วงสเตเดีย


 
(http://www.p1instrument.com/UploadImage/35e3d71e-10fb-4089-a585-638131463da6.jpg)






กล้องวัดมุม ก็จะแบ่งได้หลายประเภทอีกเช่นกัน ขึ้นอยู่กับความละเอียดในการวัดของกล้องวัดมุมแต่ละชนิด ตกว่า
กล้องวัดมุมชนิดอ่านค่ามุม 5 ฟิลิปดา กล้องวัดมุมชนิดนี้ ส่วนมากจะมีค่าความผิดพลาดในการอ่านค่ามุม(Accuracy) +/- 5 ฟิลิปดา หรือ 5 ฟิลิปดา

ในการทำงานของกล้องวัดมุมนั้น มีเพียงขาตั้งสำหรับตั้งกล้องวัดมุมเท่านั้น ซึ่งเป็นขาตั้งที่สามารถปรับสูง-ต่ำได้
เงื่อนไขการรับประกันสินค้าที่เสียหายบกพร่องจากการใช้งานปกติ สามารถนำกลับมาเปลี่ยนใหม่ได้ นับจากที่ลูกค้ารับสินค้า (อ้างอิงจากลายเซ็นต์ที่ลูกค้าเซ็นต์รับสินค้า) บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงสินค้าต้องเป็นรุ่นเดียวกันเท่านั้น สินค้าต้องมีอุปกรณ์ครบ
หากลูกค้าต้องการใบเสนอราคา กรุณาติดต่อได้ที่
ที่อยู่ 334/10 หมู่5 ต.แพรกษา อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10280

สินค้าส่งให้ฟรี บริเวณเขตปริมณฑล #กรุงเทพฯและจังหวัดใกล้เคียง อาทิ ลาดกระบังชลบุรี

ขอบคุณบทความจาก : http://www.p1instrument.com/

Tags : กล้องวัดมุมมือสอง, Total Station,กล้อง Total Station
ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ