หัวข้อ: ปั๊มไดคัท เข้าเล่มเอกสาร บริการหลังงานพิมพ์ รับเย็บท้ายปฎิทิน ประสบการณ์สูง เริ่มหัวข้อโดย: adzposter ที่ มีนาคม 19, 2017, 05:16:46 am รวีวิริยะ ร้านให้บริการ เข้าเล่มเอกสาร ปั๊มไดคัท ปั๊มเคทอง หลังการพิมพ์เสร็จ ทำบล็อคออกแบบ
ให้บริการงาน ปั๊มไดคัท ปั๊มนูน เคทอง เข้าหัวปฏิทิน เต็มเปี่ยมประสบการณ์บริการหลังการพิมพ์กว่า 30 ปี (https://scontent.fbkk5-5.fna.fbcdn.net/v/t1.0-9/12806064_485800688290519_3759501603907471743_n.jpg?oh=461cf3ee268fc8474947bf1f0ac81515&oe=58E60553) การพิมพ์ระบบออฟเซ็ท คือระบบการพิมพ์ที่ไม่ได้ถ่ายทอดภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์ลงบนชิ้นงานโดยตรง แต่จะผ่านตัวกลางขั้นหนึ่งก่อน กล่าวคือ ภาพพิมพ์ของหมึกจะถูกถ่ายจากเพลทลงผ้ายางแล้วจึงส่งผ่านไปยังกระดาษ โรงพิมพ์ส่วนใหญ่จะใช้เครื่องพิมพ์ออฟเซ็ทในการพิมพ์งาน กระดาษที่ใช้กันโดยทั่วไป ในโรงพิมพ์ มีประมาณ 8 ชนิดที่ใช้กันเป็นประจำในโรงพิมพ์ 7.กระดาษกล่องแป้งหลังเทา มี 270G , 300G , 350G , 400G , 450G 8.กระดาษกล่องแป้งหลังขาว มี 250G , 270G , 300G , 350G , 400G , 450G ขนาดกระดาษแผ่นใหญ่มาตรฐานที่ใช้กันใน โรงพิมพ์ การออกแบบงานพิมพ์เราควรจะทราบขนาดกระดาษมาตรฐานไว้ เพื่อจะได้ไม่เสียเศษกระดาษ ทำให้ต้นทุนไม่สูง ขนาดกระดาษมาตราฐาน โรงพิมพ์ *** กระดาษเคมี (ก็อปปี้ในตัว) ที่นิยมมีอยู่ 1 ขนาดคือ ขนาด 24 x 36 นิ้ว ขนาดกระดาษมาตราฐาน โรงพิมพ์ *** กระดาษแบงค์สี โดยทั่วไปมีอยู่ 1 ขนาดคือ ขนาด 31 x 43 นิ้ว ขนาดกระดาษมาตราฐาน โรงพิมพ์ *** กระดาษ KA และ KI โดยทั่วไปมีอยู่ 1 ขนาดคือ ขนาด 35 x 43 นิ้ว นอกจากนี้ ยังรับงาน งานตอกตาไก่ อีกด้วย การเย็บเล่ม เป็นขั้นตอนที่ทำภายหลังการเข้าเล่ม มีหลายวิธีคือ การทากาว (Adhesive Binding) การเย็บอก 2 การเย็บสัน เป็นวิธีการเย็บสันหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ด้วยลวดเย็บ กระดาษ เหมาะกับ หนังสือที่มีความหนาไม่มาก มิฉะนั้น จะเปิดกาง หนังสือได้ไม่เต็มที่ นอกเหนือจากการใช้ลวดเย็บกระดาษ อาจยึดเล่ม หนังสือด้วยเกลียว ลวด หรือ เกลียวพลาสติก ด้วยการเจาะรูที่ สันหนังสือแล้วร้อยเกลียวนั้นเข้าไป การเย็บสัน ยังอาจใช้ด้ายเย็บ โดยเจาะรูสันหนังสือก่อนแล้วจึงเย็บด้วย มือหรือเครื่องก็ได้ ถ้าเป็นงานหนังสือมีค่า ราคาแพง หนังสือปกแข็ง จะใช้การเย็บกี่ ซึ่งเป็น วิธีการเย็บสันด้วยด้ายและใช้วิธีการเย็บพิเศษ เพื่อเพิ่มความคงทน และยึดอายุ ุการใช้งานของหนังสือ หนังสือที่เย็บเล่ม ด้วยลวดเย็บ กระดาษ ที่เย็บ ไปด้านบน ของปึกหนังสือ และสามารถมองเห็น ลวดเย็บถ้ามอง จากด้านบนของหนังสือ ลองมาดูว่าทองเคมีกี่ชนิด และกี่ชื่อเรียกอะไรบ้าง? - 10K, 10ct หรือ 416 (ได้รับความนิยมในประเทศสหรัฐอเมริกา) - 22K, 22ct หรือ 916 (คนไทยเรียกทอง 90 ชอบเอามาทำ แหวน กรอบพระต่างๆ) ความหมายของทองเค
ตัดตก ในการออกแบบอาร์ตเวิร์ค จำเป็นต้องขยายพื้นที่ภาพพิมพ์ใหญ่กว่าขนาดจริงเล็กน้อย เป็นการเผื่อความคลาดเคลื่อนในการทำงานภายในโรงพิมพ์ เช่นการจัดเจียน จึงเรียกการเผื่อนี้ว่าเผื่อตัดตก ชนิดของกระดาษต่างๆมี 10 ชนิด (Type of paper) จากความแตกต่างของกรรมวิธีในการผลิตกระดาษความแตกต่างของเยื่อกระดาษ สารเคมีตลอดจนเครื่องจักรในการผลิต จะมีผลทำให้ลักษณะของกระดาษมีความแตกต่างกันตามวัสดุพื้นฐานในการผลิต โรงพิมพ์ จำเป็นต้องศึกษาถึงประเภทและ ชื่อเรียกของกระดาษเพื่อประโยชน์ในการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานสิ่งพิมพ์ ตลอดจนสามารถสื่อความหมายกับลูกค้าโดย ตรงตามวัตถุประสงค์ของการพิมพ์ และการใช้งานของลูกค้า กระดาษจะมีลักษณะ และชื่อเรียกต่างกันดังนี้ 3. กระดาษฟอกขาวหรือกระดาษปอนด์ขาว (Wood Free Paper) เป็นกระดาษที่ทำจากเยื่อเคมีฟอกขาว ผลิตเป็นกระดาษเพื่อใช้เขียนหรือพิมพ์ ใช้ทำสมุด และพิมพ์หนังสือโดยทั่วไป และทำเป็นกระดาษ A4 ใช้สำหรับเครื่องพริ้นทั่วไป ที่เรานิยมใช้กันในปัจจุบัน 4. กระดาษเหนียวหรือกระดาษสีน้ำตาลห่อของ (Kraft paper) KA , KI ทำจากเยื่อ Sulphate ผสมสีน้ำตาล มีความเหนียวมากใช้ทำกระดาษห่อของหรือบรรจุภัณฑ์ถุงกระดาษ และ กล่องกระดาษ การพิมพ์นูนด้วยความร้อน (Thermography) มีลักษณะคล้ายการพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์พื้นนูน แต่ผลที่ได้ไม่มีรอยที่ด้านหลังสิ่งพิมพ์จากการใช้แรงกดดังเช่นในกรณีการพิมพ์พื้นนูน บางครั้งจึงเรียกการพิมพ์วิธีนี้ว่าการพิมพ์นูนเทียม การพิมพ์ทำได้โดยใช้แม่พิมพ์พื้นนูนและหมึกที่มีความข้นสูง ภายหลังการพิมพ์ โรยด้วยผงเรซินที่มีจุดหลอมตัวต่ำ ผงเรซินจะเกาะ ณ บริเวณภาพหรือบริเวณพิมพ์ เมื่อให้ความร้อน เรซินจะหลอมและทำให้บริเวณภาพนูนขึ้นมา ภาพที่ได้จะนูนและเป็นเงา แต่ไม่มีรายละเอียดของภาพมากนัก และไม่คงทน แต่ถูกขูดออกได้ง่าย มาตรฐานทองคำ ในการซื้อขายทองคำ แต่ละประเทศจะนิยมเปอร์เซ็นต์ของทองที่แตกต่างกัน ดังนี้
ยกตัวอย่างเช่น 10 ซม.ถ้าต้องการหาหน่วยเป็นมิลลิเมตร. เอา 10 ซม. x 10 จะได้ = 100 มิลลิเมตร “นามบัตรที่ดี ต้องทรงพลัง ยื่นให้ใคร เค้าต้องจดจำเราได้” ประเภทของนามบัตร
สีซีด ภาพพิมพ์บนชิ้นงานบางครั้งดูซีดกว่าที่ควรเป็นเมื่อเทียบกับปรู๊ฟ แม้ช่างพิมพ์จะพยายามจ่ายหมึกเพิ่ม ปัญหานี้อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ ประการหนึ่งคือ ปล่อยเยื่อน้ำบนเพลทมากเกินไป จนหมึกจากลูกหมึกไม่สามารถส่งผ่านลงมาที่เพลทได้เท่าที่ควร DPI (Dots per Inch) เป็นหน่วยวัดความละเอียดของภาพ เท่ากับจำนวนของเม็ดสีที่เรียงกันในความยาวหนึ่งนิ้ว ค่า DPI ยิ่งสูงภาพก็จะมีรายละเอียดและความคมชัดสูง Duotone คือภาพพิมพ์ที่พิมพ์โดยใช้หมึกพิมพ์ 2 สี มีชั้นของความลึกดีกว่าพิมพ์สีเดียว หากมีการเลือกคู่สีที่เหมาะสม ภาพที่ได้จะดูสวยงามและมีคุณค่า Feeder ส่วนของเครื่องพิมพ์ที่ทำหน้าที่ป้อนกระดาษทีละแผ่นจากตั้งกระดาษเข้าไปยังหน่วยพิมพ์ Hot Stamping คือกรรมวิธีที่โรงพิมพ์ทำภาพพิมพ์บนกระดาษโดยใช้แม่พิมพ์ที่มีความร้อนรีดแผ่นฟิล์ม/ฟอล์ยลงให้ติดผิวกระดาษให้เกิดภาพตามแม่พิมพ์ แผ่นฟิล์ม/ฟอล์ยอาจมีสีหรือลวดลายแปลก ๆ ก็ได้ Imagesetter เครื่องสร้างภาพ(ที่ประกอบด้วยเม็ดสกรีนที่เรียงตัวกัน)ลงบนแผ่นฟิล์มแยกตามสีแต่ละสีที่จะนำไปใช้ทำเพลทแม่พิมพ์ #ไดคัทซองจดหมาย, #ไดคัทแฟ้ม, #นามบัตร#ปรุฉีก, #เส้นพับ, #บริการหลังการพิมพ์ ราคาถูก ต้องการสั่งพิมพ์งาน ติดต่อที่ Fax 02-235-9480 ขอบคุณบทความจาก : https://rvydiecut.com/ Tags : ปั๊มจม, เข้าหัวเหล็กปฏิทิน
|