หัวข้อ: สปันไมโครไพล์ เหมาะเป็นเสาเข็มของการดัดแปลงอาคาร รับตกแต่ง หอพัก ควบคุมโดยวิศวกร เริ่มหัวข้อโดย: Saiswatka ที่ มิถุนายน 22, 2017, 04:33:31 am รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ และ สปันไมโครไพล์ทุกชนิด
ซึ่งควมคุมโดยวิศวกร เสาเข็มไมโครไพล์มีขนาดเล็ก เหมาะเป็นเสาเข็มของการต่อเติมโรงงาน รับต่อเติมบ้าน ก่อสร้าง ตอกเสาเข็มเจาะ แห้ง เปียก สปันไมโครไพล์ ไมโครไพล์ เสาเข็มสำหรับต่อเติม (https://scontent.fbkk5-8.fna.fbcdn.net/v/t1.0-9/15895140_1923733484524282_2348599214803864949_n.jpg?oh=8e14967d3642cb37d09d66aecacadec5&oe=59A42EDD) การทำหน้าที่รับน้ำหนักของเสาเข็มมีลักษณะคือ เสาเข็มอาจเป็นไม้ คอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กรูปพรรณ ถ้าเป็นอาคารเล็กก็ใช้เข็มสั้นและจำนวนไม่มาก แต่ถ้าเป็นอาคารใหญ่ ก็จะต้องเสาเข็มจำนวนมากขึ้น หรือใช้เสาเข็มยาวขึ้นเพื่อถ่ายน้ำหนักลงไปยังชั้นดินได้ลึกขึ้น เพื่อรับน้ำหนักได้มากกว่า เนื่องจากดินชั้นบนมักจะมีความหนาแน่นน้อย จึงสร้างแรงเสียดทานให้กับเสาเข็มได้น้อยกว่าชั้นดินที่อยู่ลึกลงไป และหากเสาเข็มยาวจนถึงระดับชั้นดินหรือหินแข็ง เสาเข็มจะรับน้ำหนักจากอาคารและถ่ายลงสู่ชั้นดินแข็งโดยตรง Engineering Control ออกแบบ ควมคุมการตอกเข็มโดยทีมวิศวกร ของทางบริษัท นอกจากนี้ยังให้คำปรึกษาขนาดของเสาเข็ม ตำแหน่ง และ Blow Count โดย ทีมวิศวกร ซึ่งทำให้บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างของแข็งแรงและเหมาะสมที่สุด ราคาของเสาเข็ม ? เข็ม ตอกจะมีราคาประหยัดกว่าเข็มเจาะถึง 2 – 3 เท่า เช่น ถ้าเข็มตอกราคา 8,000 บาท/ต้น เข็มเจาะจะราคาสูงถึง 20,000 – 25,000 บาท/ต้น เพื่อรับน้ำหนักได้ในระดับเดียวกัน แต่การเลือกใช้เข็มตอก หรือเข็มเจาะ ควรปล่อยให้เป็นหน้าที่ของ วิศวกรที่จะประสานงาน กับสถาปนิกผู้ออกแบบ ซึ่งจะร่วมกันเปฌนผู้กำหนด เพราะอาจมีหลายๆ ปัจจัย เช่น อาจติดปัญหาเพื่อนบ้านใกล้เคียง หากใช้เข็มเจาะแล้วไปกระเทือนโครงสร้างเพื่อนบ้าน หรือปัญหา ถนน ซอย แคบมากจนไม่สามารถใช้เข็มตอกได้ การแบ่งประเภทของเสาเข็มตามชนิดของวัสดุ - เสาเข็มคอนกรีตหล่อในที่ (Cast-in-place concrete pile) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าเสาเข็มเจาะเป็นเสาเข็มที่มุ่งเน้นให้เกิดผลกระทบต่ออาคารข้างเคียงจากการสั่นสะเทือนน้อย สามารถทำความลึกได้มากกว่าเสาเข็มตอก และสามารถควบคุมตำแหน่งได้ดีกว่า แต่มีราคาสูงกว่าในกรณีรับน้ำหนักเท่ากัน การแบ่งประเภทของเสาเข็มตามรูปแบบการก่อสร้าง เสาเข็มเจาะเสียบ (Auger press pile) เป็นการใช้เสาเข็มสำเร็จรูป ติดตั้งโดยการเจาะดินให้เป็นรูขนาดเล็กกว่าขนาดเสาเข็มเล็กน้อยแล้วกดเสาเข็มลงไปในรู เป็นการแก้ปัญหาการสั่นสะเทือนและการเคลื่อนตัวของดิน วิธีนี้สามารถใช้การตอกแทนกดได้ซึ่งนอกจากลดปัญหาการสั่นสะเทือนและการเคลื่อนตัวของดินแล้ว ยังช่วยในกรณีที่ต้องตอกเสาเข็มผ่านชั้นดินที่แข็งแรงมาก นิยมใช้เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงซึ่งมีรูกลวงตรงกลาง โดยในระหว่างที่กดเสาเข็มลงไปนั้น สว่านซึ่งใส่อยู่ในรูเสาเข็มก็จะหมุน เพื่อนำดินขึ้นมา เมื่อกดเสาเข็มพร้อมกับเจาะดินจนเสาเข็มจมลงใกล้ระดับที่ต้องการก็หยุดกด ดึงดอกสว่านออกแล้วตอกด้วยลูกตุ้มจนได้ระดับที่ต้องการ ปัญหาและแนวทางแก้ไขในงานตอกเสาเข็ม - กรณีที่ไม่สามารถขนส่งเสาเข็มเข้าหน่วยงานได้เนื่องจากถนนแคบ อาจแก้ปัญหาโดยการใช้เสาเข็มหลายท่อน หรือเปลี่ยนไปใช้เสาเข็มเจาะแทน หรือใช้เสาเข็มหล่อในที่ - ดินเคลื่อนตัวจากการตอกเสาเข็ม แบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ -- ดินเคลื่อนตัวจากการตอกเสาเข็มต้นหลังไปดันเสาเข็มที่ตอกก่อนจนเสียหาย อาจแก้ไขโดยวางแผนตอกเสาจากบริเวณดินแข็งไปหาดินอ่อน หรือเปลี่ยนไปใช้เสาเข็มเจาะ -- อาคารข้างเคียงเสียหายเนื่องจากดินเคลื่อนตัวจากการตอกเสาเข็ม อาจแก้ไขโดยการวางแผนการตอกเสาเข็มไล่จากด้านที่อยู่ใกล้อาคารข้างเคียงออกไป หรือเปลี่ยนเสาเข็มเป็นเสาเข็มที่แทนที่ดินน้อยกว่าเพื่อลดการแทนที่ของเสาเข็มในดิน หรือเปลี่ยนไปใช้เสาเข็มเจาะ - เสาเข็มหัก ปัญหานี้สามารถป้องกันได้โดยเอาใจใส่ในขั้นตอนของการตรวจสอบแนวดิ่งของเสาเข็มและปั้นจั่นก่อนตอก เลือกปลายเสาเข็มให้เหมาะสมกับสภาพดิน ใช้ลูกตุ้มที่ไม่ใหญ่เกิน และไม่เข่นเสาเข็มระหว่างตอก หากพบว่าเสาเข็มหัก ต้องตอกเสาเข็มแซมและออกแบบครอบหัวเสาเข็ม (Pile Cap) ใหม่ - อุบัติเหตุในการทำงานปั้นจั่น แบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ -- ปั้นจั่นล้ม ปรับพื้นให้เรียบ ยืนบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรง รองไม้หมอนให้เพียงพอ และไม่หนุนไม้หมอนสูงหลายชั้น ควรหลีกเลี่ยงการลากเข็มจากด้านหลัง ตั้งปั้นจั่นให้ได้ดิ่ง -- อุบัติเหตุทางร่างกาย มักเกิดจากความประมาทของผู้ควบคุมปั้นจั่นและผู้ช่วย อาจเนื่องมาจากความคุ้นเคยกับการปฏิบัติงานจนไม่ระมัดระวังตัว ผู้ที่ทำหน้าที่ที่ปั้นจั่นไม่ควรไปผลัก ดัน ดึงเสาเข็มขณะปั้นจั่นทำงาน และไม่ควรไปยืนในแนวดิ่งเสาเข็ม ทั้งนี้วิศวกรพึงทราบว่า ในปัจจุบันมีกฎกระทรวงออกมาบังคับให้ผู้ควบคุมปั้นจั่นต้องผ่านการอบรมจากสถาบันที่น่าเชื่อถือก่อน} เสาเข็มเจาะระบบเปียกระบบนี้จะเหมาะกับงานก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่ใช้เครื่องมือขนาดใหญ่และค่อนข้างซับซ้อน งานตอกเสาเข็มสะพานด้วยสปันไมโครไพล์ แม้ในพื้นที่จะแคบ เราตอกเสาเข็มชิดได้ เสาเข็มต้นในรูปนี้ตอกลงไป ลึก 19.5 เมตร ได้ Blow count 2mm ตามวิศวกรกำหนด ไม่ต้องกลัวทรุด (https://scontent.fbkk5-8.fna.fbcdn.net/v/t1.0-0/s640x640/16507944_1942391385991825_4669274684031320674_n.jpg?oh=eef015e8cca9c6bd142f37807aae1865&oe=59A97FE3) รูปจากหน้างานสุวินทวงค์ #งานต่อเติมครัวหลังบ้าน (https://scontent.fbkk5-8.fna.fbcdn.net/v/t1.0-9/18199330_1990840254480271_8049737380924472853_n.jpg?oh=50d034ea3eace04ae985387cc39d18e5&oe=59E78750) เสาเข็มไมโครสปัน ควมคุมโดยทีมวิศวกร (ต่อเติมบ้านกลัวไม่ทรุด และ รับแก้ไขบ้านทรุดตัว รับแก้ไขส่วนต่อเติมทรุด) (https://scontent.fbkk5-8.fna.fbcdn.net/v/t1.0-9/17098371_1955860294644934_8351279231527830760_n.jpg?oh=e6a960658843bf50a896a718346be45a&oe=59BC3156) เสาเข็ม สำหรับงาน"ต่อเติมบ้าน" และอาคาร หลังนี้ลง10ต้น ถนนกาญจนาภิเษก งานพร้อม! คนพร้อม! ลุยครัช! (https://scontent.fbkk5-8.fna.fbcdn.net/v/t1.0-0/s480x480/15977712_1928104134087217_5855766358255507129_n.jpg?oh=e75986cdaee6078923ec7e4934de07c7&oe=59AD660A) - ควบคุมและให้คำปรึกษาโดยทีมงานวิศวกร ทำไมลูกค้าถึงเลือกเรา! Experience เรามีทีมช่างที่มากประสบการณ์ Inbox Facebook: https://m.me/completemicropile www.completemicropile.com Tags : เสาเข็มmicropile
|