ล้อแม็ก แม็ก แม็กล้อ แม็กซ์แต่งรถ ล้อแม็กคุณภาพ รวมล้อแม็กลายใหม่ๆ

Sitemap SMB => สินค้าอื่นๆ => ข้อความที่เริ่มโดย: aiatheetat ที่ สิงหาคม 13, 2017, 06:00:55 pm



หัวข้อ: แนะนำการทำประกันสุขภาพเด็ก แบบยูนิตลิ้งค์ Unit Link
เริ่มหัวข้อโดย: aiatheetat ที่ สิงหาคม 13, 2017, 06:00:55 pm
ทำประกันสุขภาพให้ลูก ลดหย่อนภาษีไม่ได้ ทำแบบไหนคุ้มที่สุด ?
โดยปกติแล้วการทำสัญญาเพิ่มเติมค่ารักษาพยาบาลในโรงพยาบาลให้บุตร หรือ ประกันสุขภาพบุตร จะต้องแนบกับสัญญาหลักประกันชีวิตแบบตลอดชีพ หรือ แบบสะสมทรัพย์ถึงจะสามารถซื้อสัญญาเพิ่มเติมค่ารักษาพยาบาลแนบท้ายได้ ผมมีคำถามจากทางลูกค้าหลายท่านว่าทำประกันให้บุตรจะนำเบี้ยประกันชีวิต หรือ เบี้ยสัญญาหลักไปหักลดหย่อนภาษีได้หรือไม่
คำตอบคือ ไม่ได้ ตามเงื่อนไขของกรมสรรพากร มาตรา 47(1)(ง)แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้หักลดหย่อนเบี้ยประกันที่ผู้มีเงินได้ได้จ่ายไปสำหรับการประกันชีวิตของผู้มีเงินได้เท่านั้น  จึงทำให้ผู้ชำระเบี้ยที่เสียภาษีมีความรู้สึกว่าเสียดายสิทธิ์ส่วนนี้ที่นำเบี้ยไปหักลดหย่อนภาษีเงินได้ของตนเอง
 
เนื่องจากค่ารักษาพยาบาลในสมัยนี้แพงมาก และเด็กเล็กเจ็บป่วยง่ายเนื่องจากภูมิต้านทานเด็กยังไม่แข็งแรง และถ้าลูกป่วยจะรอเข้ารพ.รัฐบาลก็คงไม่ไหวใช่ไหมครับ จึงจำเป็นต้องเข้ารพ.เอกชนครับ  เพื่อให้ลูกไได้รับการรักษาที่ดีที่สุด  เฉพาะฉะนั้นเรื่องการทำประกันสุขภาพเด็กจึงเป็นสิ่งสำคัญ และเป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็นที่เราควรวางแผนประกันสุขภาพให้กับลูกรัก ประกันสุขภาพเด็กมีทั้งแบบเบี้ยเสียทิ้ง หรือ ประกันสุขภาพแบบเงินออม  ประกันสุขภาพแบบสะสมทรัพย์ก็มี แล้วแต่บางท่านจะชอบแบบไหนเลือกทำได้ตามเหมาะสม
 
แนะนำว่าควรปรึกษาตัวแทนที่มีความเป็นมืออาชีพ จะได้แนะนำแบบประกันให้ท่านได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า
ทำประกันให้ลูก ลดหย่อนภาษีไม่ได้ ! งั้นลองดู Unit Link ก่อนคุ้มกว่า[/b]
ในปัจจุบันมีแบบประกันชีวิตควบการลงทุน หรือ Unit Link ซึ่งแบบประกันแบบนี้เบี้ยประกันที่ชำระไม่สามารถนำไปหักค่าใช้จ่ายลดหย่อนภาษีได้ แต่สามารถนำได้เฉพาะค่าใช้จ่ายของกรมธรรม์ไปหักลดหย่อนภาษีได้เท่านั้นในส่วนค่าเบี้ยประกันชีวิตสูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท ซึ่งในแต่ละปีค่าใช้จ่ายอาจจะไม่เท่ากัน ซึ่งถ้าทำประกันควบการลงทุนให้ผู้มีเงินได้เองก็อาจจะไปลดหย่อนภาษีได้ไม่เต็มจำนวนกับเบี้ยที่จ่ายเหมือนกับประกันชีวิตแบบสามัญ
ดังนั้นการประกันชีวิตควบการลงทุนให้บุตรผมจึงมองว่าคุ้มค่าที่สุด เพราะยังไงก็นำเบี้ยไปลดหย่อนภาษีได้ไม่เต็มที่อยู่แล้ว และ ยังมีโอกาศรับผลตอบแทนสูง และ มีสภาพคล่องในการหยุดพักจ่ายเบี้ย ถอนเงินออม หรือ จะปิดกรมธรรม์ และสามารถเลือกพอร์ทการลงทุนเองได้ตามความเสี่ยงที่ยอมรับได้
จุดเด่นของแบบประกันชีวิตควบการลงทุน (ยูนิต ลิ้งค์)
1. ประกันชีวิตสภาพคล่อง

  • การทำแบบประกันชีวิตควบการลงทุน จะมีสภาพคล่องที่ดีคือ ถ้าลูกค้าชำระเบี้ยประกันไปในระยะหนึ่งแล้ว แล้วถ้าเกิดติดปัญาหาทางด้านการเงินก็จะสามารถหยุดพักชำระเบี้ย (Premium holiday) ได้ และ กรมธรรม์ยังคุ้มครองมีผลบังคับต่อไปตราบเท่าที่มูลค่ารับซื้อคืนหน่วยลงทุน ยังมีเพียงพอที่จะชำระค่าใช้จ่ายต่างๆในกรมธรรม์และเบี้ยประกันสัญญาเพิ่มเติม(ถ้ามี) ซึ่งทำให้ผู้เอาประกันยังได้รับความคุ้มครองชีวิตและสัญญาเพิ่มเติมต่างๆตามปกติ

    2. มีโอกาศที่ได้รับผลตอบแทนสูง

  • เบี้ยประกันที่ชำระเข้ามาหลังหักค่าใช้จ่ายในการดำเนินการประกันภัยสำหรับเบี้ยประกันภัยหลักออกแล้ว จะนำเงินไปซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมตามสัดส่วนของพอร์ทการลงทุนที่ลูกค้าเป็นผู้เลือกเอง ทำให้เบี้ยประกันของบุตรค้าที่อยุ่ในกองทุนรวมมีโอกาศที่จะได้รับผลแทนสูงตามความเสี่ยงของแต่ละกองทุนนั้นๆ คล้ายๆกับการซื้อ LTF หรือ RMF ครับ
3. เป็นประกันทุนการศึกษาบุตรได้

  • ลูกค้าสามารถยื่นคำร้องขอถอนเงินจากกรมธรรม์ได้ตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทกำหนด ในกรณีที่ลูกค้าจำเป็นต้องการใช้เงินก้อนเพื่อเป็นทุนการศึกษาให้บุตร หรือ วัตถุประสงค์อื่น โดยเป็นวิธีการขายคืนหน่วยลงทุน โดยที่ลูกค้าไม่ต้องเสียดอกเบี้ย เพราะไม่ใช่การกู้เงินจากกรมธรรม์ จะสามารถถอนมาใช้เพียงบางส่วนหรือจะถอนเงินที่มีทั้งหมดก็ได้ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า
(http://ตัวแทนประกันชีวิตเอไอเอ.com/wp-content/uploads/2016/04/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A21%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99-UnitLink.jpg)
ความคุ้มครองที่ได้รับของประกันสุขภาพเด็ก HS UDR 2200
ค่ารักษาพยาบาลในโรงพยาบาล (คุ้มครองทั้งอุบัติเหตุและเจ็บป่วย)

  • ค่าห้องพยาบาล ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาล ค่าบริการโรงพยาบาล ได้สุงสุด 125 วันต่อครั้งต่อโรค วันละ 2,200 บาทต่อวัน
    1.1 กรณี ห้อง ICU จะได้รับความคุ้มครองเพิ่มเป็น 2 เท่า ได้สูงสุด 5 วัน
  • ค่าแพทย์ตรวจรักษาในโรงพยาบาล ประจำวันต่อวันละ 800 บาทต่อวัน ได้สุงสุด 125 วัน
  • ค่าแพทย์ผ่าตัดและหัตถการ 60,000 บาท ต่อครั้ง
  • ค่าแพทย์วิสัญญี 6,000 บาท ต่อครั้ง
  • ค่าห้องผ่าตัดและอุปกรณ์ในห้องผ่าตัด 5,500 บาท ต่อครั้ง
  • ค่ารักษาพยาบาลอื่นๆ ในโรงพยาบาล 20,000 บาท ต่อครั้ง
  • ค่าตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาและการตรวจทางห้องปฏิบัติการผู้ป่วยนอก OPD 3,000 บาทต่อครั้งต่อโรค
  • ค่ารักษาพยาบาลฉุกเฉิน ขณะเป็น ผู้ป่วยนอก OPD (เนื่องจากอุบัติเหตุ) ภายใน 24 ชั่วโมง ครั้งละ 5000 บาท

    หมายเหตุ : สามารถเบิกค่ายากลับบ้าน 1,000 บาทต่อครั้ง ไม่เกิน 7 วัน (จะต้องไม่เกินกับผลประโยชน์ค่ารักษพยาบาลอื่นๆ ในข้อ 6)
    สิทธิการรักษาแบบ Daycaes ผู้ป่วยนอก OPD เบิกได้

  • การสลายนิ่ว ( ESWL:Extracorporeal Shock Wave Lithotripsy )
  • การตรวจเส้นเลือดหัวใจโดยการฉีดสี ( Coronary Angiogram / Cardiac Catheterization )
  • การผ่าตัดต้อกระจก ( Extra Capsular Cataract Extraction with Intra ocular Lens )
  • การผ่าตัดโดยการส่องกล้องทุกชนิด ( Laparoscopic )
  • การตรวจโดยการส่องกล้องทุกชนิด ( Endoscope )
  • การผ่าตัด หรือเจาะไซนัส ( Sinus Operations )
  • การรักษาริดสีดวงทวารโดยการฉีดยาหรือผูก ( Injection or Rubber Band Ligation )
  • การตัดก้อนเนื้อที่เต้านม ( Excision Breast Mass )
  • การตัดชิ้นเนื้อจากกระดูก ( Bone Biopsy )
  • การตัดชิ้นเนื้อเพื่อการวินิจฉัยจากอวัยวะใด ๆ ( Tissue Biopsy )
  • การตัดนิ้วมือหรือนิ้วเท้า ( Amputation )
  • การจัดกระดูกให้เข้าที่ ( Manual Reduction )
  • การเจาะตับ ( Liver Puncture / Liver Aspiration )
  • การเจาะไขกระดูก ( Bone Marrow Aspiration )
  • การเจาะช่องเยื่อหุ้มไขสันหลัง ( Lumbar Puncture )
  • การเจาะช่องเยื่อหุ้มปอด ( Thoracentesis / Pleuracentesis / Thoracic Aspiration / Thoracic Paracentesis )
  • การเจาะช่องเยื่อบุช่องท้อง ( Abdominal Paracentesis / Abdominal Tapping )
  • การขูดมดลูก ( Curettage, Dilatation & Curettage, Fractional Curettage )
  • การตัดชิ้นเนื้อจากปากมดลูก ( Colposcope, Loop diathermy )
  • การรักษา Bartholin 's Cyst ( Marsupialization of Bartholin 's Cyst )
  • การรักษาโรคด้วยรังสีแกมม่า ( Camma Knife )
คุณสมบัติผู้เอาประกัน

  • เพศ ชาย/หญิง
  • อายุตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป
  • มีสุขภาพแข็งแรงปกติ ไม่มีโรคประจำตัว
เอกสารในการทำประกันง่ายๆ 2 อย่าง

  • สำเนาบัตรประชาชน ผู้ชำระเบี้ย / เจ้าของกรมธรรม์
  • สำนาใบสูติบัตร หรือ ใบเกิดบุตร
วิธีการชำระเบี้ยประกัน

  • เงินสด ได้รับใบเสร็จรับเงินชั่วคราวจากตัวแทนทันที
  • บัตรเครดิต VISA / Master Card ได้รับใบเสร็จรับเงินชั่วคราวจากตัวแทนทันที
  • ATM / Internet Bangking / เคาท์เตอร์ธนาคาร
ติดต่อสอบถามและสมัครทำประกันได้ที่
 (http://xn--12cs5achmbo6esbh7eaa1bkh1dr7tcf8f.com/wp-content/uploads/2015/11/AIA-Agent-ProfilePic-505652.jpg)
คุณธีทัต ตัวแทนประกันชีวิต AIA มืออาชีพ
ใบอนุญาตตัวแทนเลขที่ 5901053580
โทร./Line ID : 0915549999
https://www.facebook.com/aiaproduct[/b]
(http://ตัวแทนประกันชีวิตเอไอเอ.com/wp-content/uploads/2015/11/Screenshot_20170515-093320-180x180.jpg)
 
" ยินดีให้คำปรึกษาก่อนการทำประกันครับ "
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง : ทำประกันสุขภาพเด็กแบบไหนดี

เครดิต : http://aiaproduct.com

Tags : ประกันสุขภาพเด็กเงินออม,ประกันสุขภาพเด็กสะสมทรัพย์
ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ