หัวข้อ: การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง ฟิสิกส์ ม.ปลาย ดีวีดี ติวฟิสิกส์ กลศาสตร์ เริ่มหัวข้อโดย: diorarmani2000 ที่ กันยายน 29, 2017, 02:54:00 pm การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง[/b][/size][/b] อัตราเร็ว คือระยะทางในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณสเกลาร์ (https://i0.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/10/Motion/pv1.jpg) แต่ถ้าเป็นระยะทางทั้งหมดใน 1 หน่วยเวลา เรียกว่าอัตราเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วขณะหนึ่ง คือ อัตราเร็วในช่วยเวลาสั้น ๆ หรือ อัตราเร็วที่ปรากฏขณะนั้น อัตราเร็วคงที่ หมายถึง วัตถุที่เคลื่อนที่มีอัตราเร็วสม่ำเสมอตลอดการเคลื่อนที่ไม่ว่าจะวัดอัตราเร็ว ……………… ณ ตำแหน่งใดจะมีค่าเท่ากันตลอดการเคลื่อนที่ หรือบอกได้ว่า ……………... อัตราเร็ว ขณะใด ๆ มีค่าเท่ากับ อัตราเร็วเฉลี่ย การคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับอัตราเร็ว 1.การหาอัตราเร็ว ………………1.1. เมื่อกำหนดระยะทางและเวลาในการเคลื่อนที่ ……………………………คำนวณหาอัตราเร็วโดยการใช้สูตร (https://i0.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/10/Motion/vc.jpg) . 1.2. เมื่อกำหนดข้อมูลเป็นกราฟ ระหว่าง การกระจัดกับเวลา ( s – t ) ………………คำนวณหาอัตราเร็วได้จากความชันของกราฟ โดย อัตราเร็ว = ความชัน 2. การคำนวณหาอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คำนวณหาได้จาก ความชันของเส้นสัมผัส ณ ตำแหน่งที่หาอัตราเร็ว (https://i0.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/10/Motion/pv3.jpg)จากกราฟ อัตราเร็วที่จุด C = slope ของเส้นตรง xy อัตราเร็วเฉลี่ยระหว่าง AB = slope ของเส้นตรง AB หมายเหตุ เป็นกราฟเส้นตรง อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งเท่ากับอัตราเร็วเฉลี่ยความเร็ว ความเร็ว คือ การขจัดในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณเวคเตอร์ หน่วยเป็น เมตร/วินาที ( m/s ) (https://i2.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/10/Motion/v.jpg) ถ้ากำหนดข้อมูลเป็นกราฟ ระหว่าง การกระจัดกับเวลา ( s – t ) คำนวณหาความเร็วได้จาก ความชันของกราฟ ความเร็วคงที กราฟจะเป็นกราฟเส้นตรง (https://i0.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/10/Motion/v1.jpg) ความเร็ว = ความชัน (https://i1.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/10/Motion/vs.jpg) ความเร็วขณะหนึ่ง คือความเร็วที่ปรากฏขณะนั้น หรือความเร็วในช่วงเวลาสั้น ๆ จากสูตร (https://i2.wp.com/www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/10/Motion/v.jpg) ถ้า t เข้าใกล้ศูนย์ ความเร็วขณะนั้นเราเรียกว่าความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
|