หัวข้อ: กฎหมายมหาชน : วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในต่างประเทศและประเทศไทย ชาญชัย แสวงศักดิ์ เริ่มหัวข้อโดย: attorney285 ที่ ตุลาคม 02, 2017, 02:00:20 pm กฎหมายมหาชน : วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในต่างประเทศและประเทศไทย ชาญชัย แสวงศักดิ์
(http://img.tarad.com/shop/a/attorney285/img-lib/spd_20170714181812_b.jpg) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_886724_th_6388180 กฎหมายมหาชน : วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในต่างประเทศและประเทศไทย ชาญชัย แสวงศักดิ์ ผู้แต่ง : ชาญชัย แสวงศักดิ์ ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ : 5 : กรกฎาคม 2560 จำนวนหน้า: 496 หน้า ขนาด : 18.5 x 26 ซม. รูปแบบ : ปกอ่อน สารบัญ บทนำ : ข้อพิจารณเบื้องต้น ส่วนที่ 1 ระบบกฎหมายที่สำคัญซึงมีอิทธิพลต่อระบบกฎหมายไทย 1. ลักษณะสำคัญและกลุ่มประเทศที่ใช้ระบบกำหมายทั้งสอง 2. ความแตกต่างระหว่างระหว่างระบบกฎหมายทั้งสอง 3. แนวความคิดเกี่ยวกับการแบ่งประเภทของกฎหมายในระบบกฎหหมายทั้งสอง ส่วนที่ 2 ความหมายของกฎหมายและการแบ่งประเภทของกฎหมาย 1. ความยหมายของกฎหมาย 2. การแบ่งประเภทของกฎหมาย ส่วนที่ 3 การแบ่งแยกกฎหมายออกเป็นกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน 1. ที่มาและพื้นฐานในการแบ่งแยก 2. เกณฑ์ในการแบ่งแยก 3. ผลของการแบ่งแยก ส่วนที่ 4 ความหมายของกฎหมายมหาชนและการแยกสาขาย่อยในกฎหมายมหาชน 1. ความหมายของกฎหมานมหาชน 2. การแยกสาขาย่อยในกฎหมายมหาชน ภาค 1 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในต่างประเทศ บทที่ 1 สมัยโบราณ ส่วนที่ 1 ยุคอารธรรมกรีก 1. แนวความคิดของเปลโต้ 2. แนวความคิดของอริสโตเติล ส่วนที่ 2 ยุคอารยธรรมโรมัน 1. ยุคอารยธรรมโรมันโบราณ 2. ยุคอารยธรรมกรีกในโรม 3. ยุคคลาสสิค 4. ยุคขุนนางนักปกครอง บทที่ 2 สมัยที่ระบบการปกครองเป็นราชอาณาจักร ส่วนที่ 1 วิวัฒนาการของแนวความคิดและทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนในฝรั่งเศส 1. แนวความคิดและทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนใน"สมัยกลาง" 2. แนวความคิดและทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนใน"สมัยใหม่" 3. มรดกทางกฎหมายมหาชนที่ได้จากฝรั่งเศสในสมัยที่ระบอบการปกครองเป็นราชอาณาจักร ส่วนที่ 2 แนวความคิดและทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนในเยอรมัน 1. แนวความคิดของเยอรมันว่าด้วย"รัฐ-เจ้าชาย" 2. รัฐที่มีการจัดระเบียบสังคมอย่างเป็นระบบ 3. จากรํฐที่เป็นบุคคลธรรมดาไปเป็นรํบที่เป็นนิติบุคคล ส่วนที่ 3 แนวความคิดและทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนในประเทศอังกฤษ 1. ความเป็นมาของระบบกฎหมายอังกฤษ 2. ความพ่ายแห้ของระบอบสมบรูณาญสิทธิราชย์ 3. หลักความเป็นใหญ่ของกฎหมาย บทที่ 3 สมัยที่ระบอบการปกครองเป็นสาธารณรัฐ ส่วนที่ 1 ต้นแบบของสหรัฐอเมริกา 1. อำนาจประชาธิปไตยเป็นของประชาชน 2. อำนาจที่ถูกจำกัด ส่วนที่ 2 ต้นแบบของฝรั่งเศส 1. อำนาจอธิปไตยเป็นของชาติ 2. อำนาจของรัฐ ภาคที่ 2 สถาบันและหลักการที่เป็นรากฐานของกฎหมายมหาชน บทที่ 1 สถาับนรัฐ ส่วนที่ 1 องค์ประกอบของรัฐ 1. ดินแดน 2. ประชากร 3. อำนาจอธิปไตยทางการเมือง ส่วนที่ 2 สถานะทางกฎหมายของรัฐ : ความเป็นิติบุคคลของรัฐ 1. สถานะภาพทางกฎหมายของรัฐในต่างประเทศ : รัฐเป็นนิติบุคคลโดยสภาพ 2.สถานะภาพทางกฎหมายของรัฐในประเทศไทย : ปัญหาความเข้าใจไม่ตรงกันของนักกฎหมายไทย ส่วนที่ 3 หน้าที่ของรัฐ 1. การวิเคราะห์หน้าที่ของรัฐทางนิตินัย 2. วิวัฒนาการบทบาทของรัฐ ส่วนที่ 4 รูปแบบของรัฐ 1. รัฐเดี่ยว 2. รัฐใหญ่ที่ประกอบด้วยรัฐย่อย ส่วนที่ 5 ทฤษฎีที่ให้คำอธิบายเกี่ยวกับรัฐและอนาคตของปรากฎการณ์รัฐ 1. ทฤษฎีที่อธิบายว่ารัฐปรากฎการณ์ของการใข้กำลังบังคับ 2. ทฤษฎีที่อธิบายว่าเป็นปรากฎการณ์ของการสมัครใจ บทที่ 2 สถาบันของรัฐ ส่วนที่ 1 การแบ่งแยกสถาบันภายในรัฐ 1. การแบ่งแยกสถาบันภายในของรัฐตามวิถีดั้งเดิม 2. ข้อจำกัดของการแบ่งแยกตามวิธีดั้งเดิม ส่วนที่ 2 ความสำคัญของสถาบันตุลาการ 1. ความหมายของสถาบันตุราการ 2. การแบ่งประเภทของสถาบันทางตุลาการ 3. องค์กรวินิจฉัยคดีทางกฎหมายมหาชน บทที่ 3 หลักการที่เป็นรากฐานทางการเมืองของกฎหมายมหาชน ส่วนที่ 1 กฎหมายมหาชนกับอำนาจทางการเมือง 1. อำนาจทางการเมือง 2. การใช้อำนาจทางการเมืองเป็นสถาบัน : รัฐ ส่วนที่ 2 แนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย 1. อำนาจสูงสุดเป็นของพระเจ้า 2. อำนาจสูงสุดเป็นของกษัตริย์ 3. อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน 4. อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน 5. อำนาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา ส่วนที 3 การคัดเลือกผู้ทรงอำนาจทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการใช้อำนาจทางการเมือง 1. การเลือกผู้ทรงอำนาจทางเมือง 2. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการใช้อำนาจของประชาชน ส่วนที่ 4 ระบบการเมืองสั่งซื้อได้ที่ www.attorney285.co.th 1. ความพยายามในการจัดแบ่งประเภทของระบบการเมืองแบบเก่า 2. ความพยายามในการจัดแบ่งประเภทของระบบการเมืองแบบใหม่ 3. การจัดแบ่งของระบบการเมืองบนพื้นฐานของหลักการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย บทที่ 4 หลักการที่เป็นรากฐานทางกฎหมายของกฎหมายมหาชน ส่วนที่ 1 หลักการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย 1. กำเนิดทฤษฎีการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย 2. ความหมายและสาระสำคัญของการแบ่งแยกการการใช้อำนาจอธิปไตย ส่วนที่ 2 หลักการเคารพลำดับชั้นของกฎเกณฑ์ทางการเมือง 1. หลักความชอบด้วรัฐธรรมนูญ 2. หลักความชอบด้วยกฎหมายและหลักนิติรัฐ 3. กฎหมายที่เป็นแหล่งที่มาและข้อจำกัดอำนาจของององค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร ส่วนที่ 3 หลักความรับผิดชอบ 1. ความรับผิดชอบทางการเมือง 2. ความรับผิดชอบทางการเมืองและการคลัง ภาค 3 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศไทยในสมัยโบราณก่องสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนที่ 1 วิวัฒนาการของกฎหมายกฎหมายมหาชนในสมัยสุโขไทย 1. แนวความคิดแบบพ่อปกครองลูก 2. แนวความคิดแบบธรรมดา 3. แนวความคิดแบบสมมติเทพ ส่วนที่ 2 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในสมัยอยุธยา 1. แนวความคิดเกี่ยวกับกษัตริย์และอำาจในการปกครอง 2. แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบบริหารราชการ 2.1 สมัยอยุธยาตอนต้น 2.2 สมันอยุธยาตอนปลาย ส่วนที่ 3 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในสมัยธนบุรี ส่วนที่ 4 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น 1. แนวความคิดทางกฎหมายมหาชนในสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 3 2. แนวความคิดของกฎหมายมหาชนในรัชกาลที่ 4 บทที่ 2 วิวัฒนากานของกฎหมายมหาชนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนที่ 1 สภาพการณ์ที่เป็นปัจจัยในการพัฒนาแนวความคิดทางกฏหมายในรัชสมัยขิงพระบาทสมเด็จพระจุลจอลเกล้าเจ้าอยูหัว 1. สัมพันธภาพเชิงอำนาจในระหว่างชนชั้นปกครอง : ความพยายามในการรวมอำนาจเข้าสู่สถาบันพระมหากษัตริย์ 2. ความบกพร่องของระบบดั่งเดิม 3. การเสื่อมถอยของแนวความคิดทางกฎหมายมหาชนดั้งเดิม 4. ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันออกซึ่งมีข้อตำหนิกฎหมายและศาลไทย 4.1 ความสัมพันการประเทศตะวันตก 4.2 ข้อตำหนิของกฎหมายและศาลไทย ส่วนที่ 2 วิวัฒนาการของแนวความคิดทางกฎหมายมหาชนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 1. แนวความคิดทางกฎหมามหาชนในสมัยของพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวระหว่าง พ.ศ.2411 ถึง พ.ศ.2428 1.1 การดำเนินการเพื่อดึงอำนาจเข้าสู่องค์พระมหากษัตริย์ 1.2 การจัดตั้งองค์กรที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน 1.3 การรวมศูนย์อำนาจด้านการคลัง 1.4 การำกหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการ 2. แนวความคิดทางกฎหมายมหาชนในรัชสมัยของพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวระหว่าง พ.ศ.2429 ถึง พ.ศ.2453 2.1 การสร้างกฎเกณฑ์ในการสืบราชสมบัติ 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน 2.3 แนวความคิดเกี่ยวกับการวางหลักการบริหารที่ดีในระบบราชการ 2.4 แนวความคิดเกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของรัฐ 2.5 แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางการปกครองของรัฐและประชาชน 2.6 การปฏิรูปการศาลไทย 2.7 การปฏิรูประบบกฎหมายไทย 2.8 การศึกษากฏหมายและการสร้างนักกฎหมายไทย บทที่ 3 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในรัชสมัยของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและในรัชสมัยของพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 ส่วนที่ 1 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในรัชสมัยของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 1. แนวความคิดทางกฎหมายมหาชนในรัชสมัยของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 1.1 ความต่อเนื่องของรัฐสมบูรณาญษสิทธราชย์ 1.2 พระราชดำริเกี่ยวกับระบอบการเมืองการปกครอง 2. การปฏิรูประบบกฎหมาย 2.1 การร่างประมวลกฎหมายแพ่งแลพานิชย์ 2.2 การร่างประมวลกฎหมายวิธิพิจารณาความอาญา 3. การจัดตั้งกรมร่างกฎหมาย 4. การเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาและการฝึกอบรมนักกฎหมาย 4.1 การเปลี่ยนแปรงระบบการศึกษากฎหมายจากระบบกฎหมายคอมมอนลอว์เป็นระบบประมวลกฎหมาย 4.2 การเผยแพร่ความคิดเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน ส่วนที่ 2 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในรัชสมัยของพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 1. สภาพปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมืองในขณะที่ขึ้นครองราชย์ 2. พระราชดำริเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์การใช้อำนาจรัฐภายใต้ระบอบสมบูรญาณาสิทธิราชย์ 2.1 แนวความคิดในการจัดตั้งสภากรรมการองคมนตรี 2.2 แนวความคิดในการจัดตั้งอภิัรฐมนตรี 2.3 แนวความคิดในการให้การศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการปกครองโดยการจัดตั้งองค์กรปกครองท้องถิ่น 3. การเผยแพร่ความคิดเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน 4. การจัดตั้งร่างรัฐธรรมนูญเพื่อประทานให้แก่ประชาชน 4.1 ครั้งแรกในตอนต้นรัชกาล 4.2 ครั้งที่สองในตอนปลายรัชกาล 5. แนวความคิดในการปฏิเสธอำนาจรัฐในระบอบสมบูรญาณาสิทธิราชย์ ของนายปรีดี พนมยงค์ 5.1 แนวความคิดในช่วงที่ศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส 5.2 การเผยแพร่แนวความคิดภายหลังกลับมาประเทศไทย 6. แนวความคิดในการประฏิเสธอำนาขรัฐในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ของคณะราษฎร บทที่ 4 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนภายหลังเปลี่ยนแปงการปกครองใน พ.ศ.2475 จนถึงปัจจุบัน ส่วนที่ 1 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนในช่วงที่ราษฎรมรอำนาจทางการเมืองระหว่าง พ.ศ.2475 -พ.ศ.2477 1.การเปลี่ยนแปรงการปกครองโดยคณะราษฎรในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 2.แนวความคิดในการปฏิเสธอำนาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 2.1 แนวความคิดที่ปรากฎในประกาศคณะราษฎรฉบับแรก 2.2 แนวความคิดของคณะผู้รักษาพระนตรฝายทหาร 3.การผสมผสานแนวความคดิดอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนกับพระมหากษัตริย์ 3.1 การจำกัดพราราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญ 3.2 แนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน 4. แนวความคิดการปฏิเสธการใช้อำนาจรํบโดยประชาชน 5. การปฏิรูประบบกฎหมาย 5.1 การร่างประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 5.2 การปฏิรูปกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน 6. การเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาและการฝึกอบรมนักกฎหมาย 7. การจัดตั้งคณะกรรมการกฤษฎีกา 7.1 แนวความคิดในการจัดตั้งคณะกรรมการกฤษฎีกา 7.2 การจัดตั้งองค์กรและอำนาจและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกฤษฎีกา 7.3 คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ทำหน้าที่ในการร่างกฎหมายและการรับปรึกษาให้ความเห็นด้านกฎหมายแต่มิได้ทำหน้าที่เป็นองค์กรวินิจฉัยคดีปกครอง ส่วนที่ 2 วิวัฒนาการของกฎหมายมหาชนภายหลังจากที่คณะราษฎรได้พ้นจากอำนาจทางการเมืองแล้วจนถึงปัจจุบัน 1. แนวความคิดอำนาจนิยมในยุคชาตินิยมของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม 1.1 การสร้างเสริมความรู้สึกชาตินิยม 1.2 การต่อต้านชาวจีน 2. แนวความคิดอำนาจนิยมในระบบเดร็จการในยุคของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2.1 การสร้างความชอบธรรมในการเข้าสู่อำนาจรัฐ 2.2 แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับรัฐของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 3. แนวความคิดประชาธปไตยเสรีนิยมตามข้อเรียกร้องของประชาชนในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลา2516 4. แนวความคิดอำนาจนิยมในระบอบเผด็จการในสมัยรัฐบาลของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร และพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ 5.การประนีประนอมระหว่างแนวความคิดอำนาจเสรีกับกับแนวความคิดประชาธิปไตยเสรนิยมในระบอบกึ่งประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย พุทธศักราช 2521 6. แนวความคิดอำนาจนิยมในระบอบเผด็จการในยุคของคณะรักษาความสงบเรีบยร้อยของชาติ 7. การประนีประนอมระหว่างแนความคิดอำนาจนิยมกับแนวความคิดประชาธิปไตยนิยมภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทะศักราช 2534 8. ความพยายามในการปฏิรูปการเมืองไทยโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 8.1 กรอบความคิดพื่้นฐานสั่งซื้อได้ที่ www.attorney285.co.th 8.2 เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ 9. การรัฐประหารและการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 9.1 การทำรัฐล้มล้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอษณษจักรไทย พุทธศักราช 2540 9.2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาราจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 : ความพยายามในการปฏิรูปการเมืองครั้งที่ 2 11. การทำรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติและการประกาศใช้ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธสักราช 2557 11.1 การทำรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 11.2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 12. สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บทที่ 5 อุปสรรคของการพัฒนากฎหมายมหาชนและการพัฒนานักกฎกมายมหาชนในประเทศไทยในอดีตที่ผ่านมา ส่วนที่ 1 กฎหมายมหาชนกับการพัฒนาประเทศ 1.กฎหมายกับการพัฒนาประเทศ 1.1 กฎหมายกับการเมืองการปกครอง 1.2 วิกฤติการณ์ทางกฎหมายในสังคมไทย 1.3 ปัญหาที่ท้าทายและรอารแก้ไข 2.กฎหมายปกครองกับการพัฒนาประเทศ ส่วนที่ 2 อุปสรรคของการพัฒนากำหมายมหาชนในประเทศไทย 1. การแบ่งประเภทกฎหมายในประเทศไทย 1.1 การแบ่งประเภทกฎหมายในรัชสมัยของพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 1.2 แการแบ่งประเภทกฎหมายและสภาพกฎหมายมหาชนภายหลังการเปลี่ยนแปรงการปกครองใน พ.ศ.2475 2. ความสับสนในแนวความคิดของกฎมายมหาชนไทย 2.1 สาเหตุของการสับสนในแนวความคิดของกฎหมายมหาชนไทย 2.2 ผลกระทบที่เกิดจากความสับสนของแนวคิดในกฎหมายมหาชนไทย ส่วนที่ 3 อุปสรรคของการพัฒนานักกฎหมายมหาชนในไทยในอดีตที่ผ่านมา 1. กรไม่ให้ความสำคัญกับกฎหมายมหาชนในการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาในอดีตที่ผ่าน มา 1.1 สภาพปัญหาในอดีตที่ผ่านมา 1.2 แนวทางการแก้ไข 2. การไม่ให้ความสำคัญกับกฎหมายมหาชนในการแข่งขันสอบเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนิติกรและตำแหน่งอื่นที่ต้องใช้ความรู้ทางกฎหมายมหาชนในส่วนราชการต่างๆ ในอดีตที่ผ่านมา 2.1 สภาพปัญหาในอดีตที่ผ่านมา 2.2 แนวทางการแก้ไข 3. การสูญเสียบุคคลที่มีความรู้ทางกฎหมายระบบราชการของฝ่ายบริหารให้แก้ระบบผู้พิพากษา-อัยการ อันเนื่องมาจากระบบอัตราค่าตอบแทนที่ยังมีการเลื่อมล่ำกันอยู่มาก 4. การพัฒนานักกฎหมายมหาชน : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่จำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ 4.1 มุมมองของอดีตผู้บริหารระดับสูง 4.2 ทิศทางการพัฒนาของกฏหมายมหาชนในระยะต่อไป บทสรุปของผู้เขียน ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_886724_th *** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** **** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่ https://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law อีเมล attorney285@gmail.com โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) LINE ID : @attorney285 (https://biz.line.naver.jp/line_business/img/btn/addfriends_en.png) (http://upic.me/i/h1/qrlineattorney285200.png) Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ) บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 15 ซ.รามคำแหง 24/3 แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (http://img.tarad.com/shop/a/attorney285/img-lib/spd_20151201153923_b.jpg) จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)
|