หัวข้อ: กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์ เริ่มหัวข้อโดย: attorney285 ที่ ตุลาคม 21, 2017, 11:15:05 pm กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์(https://c.lnwfile.com/_/c/_raw/93/3d/tn.jpg)ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ https://www.attorney285.co.th/p/1960กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์
ผู้แต่ง : นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์ ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2560 จำนวนหน้า: 354 หน้า ขนาด : 18.5 x 26 ซม. รูปแบบ : ปกอ่อน กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในเชิงสารบัญญัติ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเฉพาะเรื่อง องคาพยพของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และการบังคับใช้ สารบัญ บทนำ. (๑)แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๒)ความเป็นมา และพัฒนาการเกี่ยวกับการคุ้ครองผู้บริโภคในประเทศไทย (๓)ขอบเขต และลักษณะของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๓.๑)ขอบเขตของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๓.๑.๑) ในเชิงเนื้อหา (๓.๑.๒) ในเชิงรูปแบบ ส่วนที่หนึ่ง: กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองภู้บริโภคในเชิงสารบัญญัติ ความนำ: บทที่ ๑กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเป็นการทั่วไป ๑.๑ เหตุผลความจำเป็น และขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติ ๑.๑.๑ เหตุผลความจำเป็นของพระราชบัญญัติ ๑.๑.๒ ขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติ (๑) หลัก (๒) ข้อยกเว้น ๑.๒ กลไกลและมาตรการเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติ ๑.๒.๑ กลไกลในเชิงสารบัญญัติ:กลไกลเชิงป้องกัน ๑.๒.๑.๑ การรับรองและคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภค (๑) สิทธิที่จะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ (Right to Informations) (๒) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ (Right to Freedom of Choice) (๓) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ (Right to Safety) (๔) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา (Right to Fairness for Contract ) (๕) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย (Right to be heard and Right to Remedy) ๑.๒.๑.๒ การกำหนดให้มีองค์กรของรัฐเพื่อทำหน้าที่เกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองแก่ผู้บริโภค (๑) องค์กรของรัฐที่ปฎิบัติหน้าที่ในระดับนโยบายและการควบคุมกำกับ (๒) องค์กรของรัฐที่ปฎิบัติหน้าที่ในระดับปฏิบัติการ ๑.๒.๑.๓ การกำหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ (๑) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านการโฆษณา (๒) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านฉลาก (๓) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านสัญญา (๔) หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ประกอบธุระกิจ ในด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการ ๑.๒.๒ กลไกลในเชิงวิธีสบัญญัติ: กลไกลการแก้ไข้เยียวยาความเสียหาย ๑.๒.๒.๑ กรณีหน่วยงานของรัฐฟ้องและดำเนินคดีแทนผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหาย (๑) เงื่อนไขเกี่ยวกับการดำเนินคดีโดยคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคแทนผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหาย (๒) ผลทางกฎหมายของการดำเนินคดีโดยคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ๑.๒.๒.๒ กรณีองค์กรเอกชนฟ้องและดำเนินคดีแทนผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหาย (๑) เงื่อนไขของสมาคมและมูลนิธิที่จะสามารถฟ้องคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค (๒) การใช้สิทธิและอำนาจฟ้องคดีของสมาคมและมูลนิธิ บทที่ ๒ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเฉพาะเรื่อง ๒.๑ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับสินค้าเฉพาะอย่าง ๒.๑.๑ กฎหมายเกี่ยวกับอาหาร และกฎหมายเกี่ยวกับยา ๒.๑.๑.๑ เจตนารมณ์และโครงสร้างของกฎหมายเกี่ยวกับอาหาร และกฎหมายเกี่ยวกับยา (๑) เจตนารมฌ์ของกฎหมายเกี่ยวกับอาหาร และกฎหมายเกี่ยวกับยา (๒) โครงสร้างของกฏหมายเกี่ยวกับอาหารและกฎหมายเกี่ยวกับยา ๒.๑.๑.๒ การคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับอาหารและยา ๒.๑.๒ กฎหมายเกี่ยวกับสินค้าที่ไม่ปลอดภัย (Product Iiability Law) ๒.๑.๒.๑ ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการเพื่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย (๑) ความรับผิดของผู้ประกอบการ (๒) เหตุหลุตพ้นความรับผิดชอบขอผู้ประกอบการ ๒.๑.๒.๒ ขอบเขตความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ (ขออเขตความเสียหายที่ได้รับความคุ้มครอง) (๑) ความเสียหายพื้นฐาน (๒) ความเสียหายต่อยอด ๒.๒ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ๒.๒.๑ ลักษณะและผลแห่งข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม (๑) ลักษณะของข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม (๒) ผลแห่งข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ๒.๒.๒ ขอบเขตของการใช้บังคับของข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม (๑) เหตุผลความจำเป็น (๒) ขอบเขตของการใช้บังคับที่เคร่งครัด ๒.๓ กฎหมายเกี่ยวกับการขายสินค้าและให้บริการในรูปแบบใหม่ๆ ๒.๓.๑ ลักษณะของการขายตรงและตลาดแบบตรง และผลกระทบที่เกิดขึ้น ๒.๓.๑.๑ ลักษณะของการขายตรงและตลาดแบบตรง ๒.๓.๑.๒ ผลกระทบ หรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการขายตรงและตลาดแบบตรง (๑) ผลกระทบต่อความเป็นอิสระของผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ (๒) ความเสี่ยงต่อผู้บริโภคที่จะได้รับสินค้าหรือบริการตามที่ตนเลือกซื้อได้อย่างแท้จริง (๓) ความเสี่ยงของผู้บริโภคต่อการแสวงหาประโยชน์อันมิชอบและไม่สุจริจของบุคคลจากการขายตรง และการตลาดแบบตรง ๒.๓.๒ มารตการคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติ ๓.๒.๒.๑ กรณีมิใช่การประกอบธุระกิจขายตรงและตลาดแบบตรงตามกฎหมาย ๓.๒.๒.๒ กรณีการประกอบธุระกิจขายตรงและตลาดแบบตรงตามกฎหมาย (๑) การกำหนดหน้าที่แก่ผู้ประกอบธุระกิจแบบขายตรง และผู้ประกอบธุระกิจแบบตลาดตรง (๒) การคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคที่สั่งซื้อสินค้าและบริการจากการขายตรงหรืแตลาดแบบตรง (๓) การกำหนดให้มีองค์กรกำกับดูแลและปฎิบัติตามพระราชบัญญัตเป็นการเฉพาะ ส่วนที่สอง: กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในเชิงวิธีสัญญัติ ความนำ บทที่ ๑ กฎหมายว่าด้วยวีธีพิจารณาคดีผู้บริโภค ๑.๑ ขอบเขตการใช้บังคับของระบบวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค ๑.๑.๑ ลักษณะของคดีผู้บริโภค (๑) เงื่อนไขเชิงรูปแบบ (๒) เงื่อนไขเชิงเนื้อหา ๑.๑.๒ กรณีมีปัญหาตีความเกี่ยวกับคดีผูบริโภค ๑.๒ ระบบวิธีพิจารณาคดีที่เอื้อต่อการใช้สิทธิเรียกร้องของผู้บริโภค ๑.๒.๑ ชั้นการฟ้องคดี (๑) การฟ้องคดีด้วยวาจา (๒) การฟ้องคดีต่อศาลที่ผู้บริโภคมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล (๓) การยกเว้นการใช้บังคับหลักกฎหมายเกี่ยวกับแบบของสัญญาหรือหลักฐานเป็นหนังสือ (๔) การยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมให้แก่ผู้บริโภค (๕) กำหนดอายุความเป็นพิเศษ ๑.๒.๒ ชั้นการดำเนินกระบวนการพิจารณาคดี (๑) ขอบเขตของข้อตกลงในสัญญาของผู้ประกอบธุระกิจ (๒) ภาระการพิสูจน์ (๓) การใช้ระบบไต่สวนในการดำเนินกระบวนการพิจารณาคดี ๑.๒.๓ ชั้นการชี้ขาดตัดสินคดี (๑) การแก้ไขคำข้อบังคับให้ถูกต้องหรือเหมาะสมยิ่งขึ้น (๒) การสงวนสิทธิของศาลในการแก้ไขคำพิพากษาในอนาคต (๓) การทำคำพิพากษาให้ผู้ประกอบธุระกิจปฏิบัติตามในเรื่องเฉพาะเจาะจง (๔) การนำผลแห่งคดีไปใช้บังคับแก่ข้อพิพาทในอนาคตที่มีข้อเท็จจริงแบบเดียวกัน บทที่ ๒ กฎหมายว่าด้วยการดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class actions) ๒.๑ ขอบเขตการใช้บังคับของการดำเนินคดีแบบกลุ่มในคดีเรียกร้องสิทธิตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ๒.๑.๑ เงื่อนไขเชิงรูปแบบ (๑) คดีที่มีผู้บริโภคเป็นผู้เสียหายจำนวนมากซึ่งรมกันเป็นกลุ่มบุคคล (๒) คดีที่ผู้บริโภคเป็นผู้เสียหายหนึ่งคน (หรือหลายคน) เป็นโจทก์ฟ้องและดำเนินคดีแทนผู้เสียหายคนอื่นๆ (๓) คดีโจทก์ฟ้องและดำเนินคดีเพื่อประโยชน์ของตนเอง และเพื่อประโยชน์ของผู้เสียหายทุกคนในกลุ่มบุคคล ๒.๑.๒ เงื่อนไขเชิงเนื้อหา (๑) การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคกรณีผูประกอบธุระกิจประพฤติผิดสัญญาเกี่ยวกับการบริโภคสินค้าแลบริการ (๒) การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคกรณีผู้ประกอบการธุระกิจกระทำละเมิดเกี่ยวกับการบริโภคสินค้าและบริการ (๓) การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคกรณีผู้ประกอบธุระกิจไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด ๒.๒ การคุ้มครองผู้บริโภคโดยการดำเนินคดีแบบแบ่งกลุ่ม ๒.๒.๑ การดำเนินคดีแบบแบ่งกลุ่มกับการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น (๑) กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการดำเนินคดีแบบกลุ่ม (๒) กระบวนพิจารณาที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบวิธีพิจารณาคดีที่มีกฎหมายอื่นกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ ๒.๒.๒ การดำเนินคดีแบบกลุ่มกับข้อจำกัดบางประการในการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค (๑) ข้อจำกัดของการนำระบบวิธีพิจรณาคดีผู้บริโภคมาใช้บังคับในคดีแบบกลุ่มเนื่องจากขัดหรือแย้งโดยชัดแจ้ง กับลักษฌะเฉพาะของการดำเนินคดีแบบกลุ่ม (๒) ข้อจำกัดอันอื่นมาจาก "ความแตกต่างหลากหลาย"ของความเสียหายที่สมาชิกในกลุ่มบุคคลได้รับอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยว กับการบริโภคสินค้าหรือบริการ ส่วนที่สาม: องคพยพของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้บังคับ ความนำ: บทที่ ๑ องคพยพของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้บังคับ ๑.๑ผู้บริโภค ๑.๑.๑ นิยาม และลักษณะขิงผู้บริโภค ๑.๑.๑.๑ นิยามผูบริโภค (๑) นิยามผู้บริโภคตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครอง (๒) ความหมายผู้บริโภคตามคำวินิจฉัยหรือการตีความขององค์กรณ์รัฐหรือองค์กรตุลาการ ๑.๑.๑.๒ ลักษณะของผู้บริโภคตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๑) ลักษณะของผู้บริโภคตามบริบทของกฎหมายไทย (๒) ลักษณะของผู้บริโภคตามหลักสากลของประเทศต่างๆ ๑.๑.๒ สิทธิ และหน้าที่ของผผู้บริโภค ๑.๑.๒.๑ สิทธิของผู้บริโภค (๑) สิทธิตามสัญญา (๒) หน้าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ๑.๑.๒.๒ หน้าที่ของผู้บริโภค (๑) หน้าที่ตามสัญญา (๒) หน้าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับการการคุ้มครองผู้บริโภค ๑.๒ ผู้ประกอบธุระกิจ ๑.๒.๑ นิยามลักษณะของผู้ประกอบธุระกิจ ๑.๒.๑.๑ นิยามของผู้ประกอบธุรกิจตามกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๑) "ผู้ประกอบธุรกิจ" ตามประราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 (๒) "ผู้ประกอบธุรกิจ" ตามกฏหมายอื่นๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเฉพาะเรื่อง ๑.๒.๑.๒ ลักษณะของผู้ประกอบธุรกิจตามกฏหมายเกียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๑) ผู้ประกอบธุรกิจตามกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๒) การคุ้มครองประกอบธุรกิจขนาดเล็กในความเกี่ยวพันกับผู้ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ ๑.๒.๒ หน้าที่ และสิทธิของผู้ประกอบธุรกิจ ๑.๒.๒.๑ หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจ (๑) หน้าที่พื้นฐาน (๒) หน้าที่เฉพาะ ๑.๒.๒.๒ สิทธิของผู้ประกอบธุรกิจ (๑) สิทธิตามสัญญา (๒) สิทธิตามกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ๑.๓ สินค้าเเละบริการ ๑.๓.๑ สินค้า ๑. สินค้า ๒. ลักษณะของสินค้า ๑.๓.๒ บริการ ๑.บริการประเภทต่างๆ ๒.ลักษณะของบริการ บทที่ ๒ การใช้บังคับกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ๒.๑ กฏหมายกลางเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นการทั่วไป (๑) เงือนไขการใช้บังคับเชิงรูปแบบ (๒) เงือนไขการใช่บังคับเชิงเนื้อหา ๒.๒ กฏหมายอื่นๆ เกียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเฉพาะเรื่อง (๑) การใช้บังคับในบริบทเฉพาะเพื่อคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ (๒) การใช้บังคับบนฐานของหลักวิชาการหรือความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง บทสรุป (๑) พัฒนาการของการคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย (๑.๑) พัฒนาการของการคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย (๑.๒) กลไกเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย (๒) ปัญหาเฉพาะของระบบการคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย และแนวทางที่ควรจะเป็น (๒.๑) ปัญหาในเชิงกฏหมาย: ปัญหาบทบัญญัติแห่งกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค (๒.๒) ปัญหาการจัดการของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "https://www.attorney285.co.th/category/59 *** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** **** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่ http://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law อีเมล attorney285@gmail.com โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน)
|