หัวข้อ: คำอธิบาย กฎหมายอาญา ภาค 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
เริ่มหัวข้อโดย: attorney285 ที่ กุมภาพันธ์ 13, 2018, 07:25:44 am
คำอธิบาย กฎหมายอาญา ภาค 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ (http://img.tarad.com/shop/a/attorney285/img-lib/spd_20160404191014_b.jpg)ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571709_th_2393353คำอธิบาย กฎหมายอาญา ภาค 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ ผู้แต่ง : เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 10 : แก้ไขเพิ่มเติม มีนาคม 2559 จำนวนหน้า: 1016 หน้า ขนาด : 18.5x26 ซม. รูปแบบ : ปกอ่อน บทที่ 1 ลักษณะของกฎหมายอาญา
- ความหมายของกฎหมายอาญา[/*]
- หลักเกณฑ์ในการกำหนดความผิดทางอาญา[/*]
- กฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง[/*]
- เอกชนผู้เสียหายและกฎหมายอาญา[/*]
- กระบวนการใช้บังคับกฎหมายอาญา[/*]
- เอกลักษณ์ของกฎหมายอาญา[/*]
บทที่ 2 การใช้กฎหมายอาญาย้อนหลังเพื่อเป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิด [list=1]- กฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง ยกเลิกความผิดตามกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำความผิด[/*]
- กฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง มิได้ยกเลิกความผิดตามกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำความผิด แต่มีความแตกต่างกัน[/*]
บทที่ 3 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญา หลักดินแดน [list=1]- การกระทำความผิดในราชอาณาจักร[/*]
- การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรแต่ถือว่ากระทำความผิดในราชอาณาจักร[/*]
หลักอำนาจลงโทษสากล หลักบุคคล
- ข้อเปรียบเทียบระหว่างหลักดินแดน หลักอำนาจลงโทษสากล และหลักบุคคล[/*]
- การคำนึงถึงคำพิพากษาของศาลในต่างประเทศ[/*]
- กรณีกระทำความผิดนอกราชอาราจักร[/*]
- กรณีกระทำความผิดในราชอาราจักร หรือกระทำความผิดที่ประมวลกฎหมายนี้ถือว่าได้กระทำในราชอาณาจักร[/*]
บทที่ 4 ประเภทของความผิดอาญา [list=1]- การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของกฎหมาย[/*]
- การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของการกระทำ[/*]
- การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่เจตนา[/*]
- การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ผู้กระทำ[/*]
- การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่โทษ[/*]
- การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของการดำเนินคดี[/*]
บทที่ 5 โครงสร้างความรับผิดในทางอาญา
- โครงสร้างข้อ 1 การกระทำครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติ[/*]
- โครงสร้างข้อ 2 การกระทำไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด[/*]
- โครงสร้างข้อ 3 การกระทำนั้นไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ[/*]
- เหตุลดโทษ[/*]
บทที่ 6 โครงสร้างข้อ 1 การกระทำครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติ
- ตอนที่ 1 มีการกระทำ[/*]
- ข้อสังเกตโดยทั่วไปเกี่ยวกับการกระทำ[/*]
- การกระทำโดยการเคลื่อนไหวร่างกาย[/*]
- การกระทำโดยการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย[list=1]
- การกระทำโดยงดเว้น[/*]
- การกระทำโดยละเว้น[/*]
[/*][/list]- ความแตกต่างระหว่างการกระทำโดยงดเว้นและการกระทำโดยละเว้น[/*]
- ตอนที่ 2 การกระทำนั้นครบ “องค์ประกอบภายนอก” ของความผิดในเรื่องนั้น[list=1]
- ผู้กระทำ[/*]
- การกระทำ[/*]
- วัตถุแห่งการกระทำ[/*]
[/*]- การครบองค์ประกอบภายนอกและการขาดองค์ประกอบภายนอก[/*]
- ตอนที่ 3 การกระทำนั้นครบ “องค์ประกอบภายใน”ของความผิดในเรื่องนั้น ๆ[/*]ส่วนที่ 1 เจตนา
[list=1] - เจตนาตามความเป็นจริง[/*]
- ผู้กระทำต้อง “รู้” ข้อเท็จจริง[/*]
- ประสงค์ต่อผล[/*]
- เจตนาฆ่าหรือเจตนาทำร้าย[/*]
- เล็งเห็นผล[/*]
- เจตนาพิเศษ[/*]
- องค์ประกอบภายนอกซึ่งมิใช่ “ข้อเท็จจริง”[/*]
- การสำคัญผิดในตัวบุคคล[/*]
- การสำคัญผิดในข้อเท็จจริง[/*]
สำคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซึ่งทำให้การกระทำนั้นไม่เป็นความผิด สำคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซึ่งทำให้ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ สำคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซึ่งทำให้ผู้กระทำได้รับโทษน้อยลง
|
|