หัวข้อ: อาหารเสริมไทยธรรม ฟิชเชอร์ อีพีเอ ศูนย์ย่อยไทยธรรม เริ่มหัวข้อโดย: ittipan1989 ที่ เมษายน 28, 2018, 12:04:30 pm อาหารเสริมไทยธรรม ฟิชเชอร์ อีพีเอ ศูนย์ย่อยไทยธรรม โทร : 062-6179399
น้ำมันปลาสกัดชนิด EPA เข้มข้น สารอาหารต้านการอักเสบ ปรับสมดุลโคเลสเตอรอล[/b] การอักเสบในร่างกายมนุษย์ เกิดขึ้นได้กับอวัยวะต่างๆ มีผลให้อวัยวะนั้นเป็นอันตราย และสูญเสียการทำงานที่ปกติไป กรดไขมันโอเมก้า-3 มี 2 ชนิด คือ EPA ซึ่งมีความสำคัญในการระงับอาการอักเสบ และให้ผลดีต่อหัวใจ และหลอดเลือด และ DHA ซึ่งให้ผลดีต่อสมอง และจอตา EPA จะผลิตสารคล้ายฮอร์โมนสำคัญที่เรียก ไอโคซานอยด์ ซึ่งมีผลระงับการอักเสบในขณะที่ DHA จะไม่ผลิตสารไอโคซานอยด์ แต่จะทำหน้าที่เป็นเหมือนโครงสร้าง ที่มีประโยชน์ต่อเยื่อหุ้มเซลล์สำคัญที่สมองและจอตา นักวิทยาศาสตร์พบว่า DHA สามารถเปลี่ยนเป็น EPA ได้ในร่างกายยามจำเป็น แต่ EPA จะไม่เปลี่ยนเป็น DHA ในธรรมชาติ กรดไขมันทั้ง 2 ชนิด จะพบร่วมกัน และทำงานคล้ายคลึงกัน โดยทั้ง 2 ชนิด มีคุณสมบัติในการลดระดับโคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือด และแต่ละชนิด ก็ยังมีคุณสมบัติเฉพาะของตัวเอง โดยที่ EPA ให้ผลระงับขบวนการอักเสบ ทั้งแบบเรื้อรัง และเฉียบพลันมีผลให้ลดความเจ็บปวดที่เกิดจากอาการอักเสบอย่างเช่น ข้ออักเสบ ทั้งในผู้ป่วยข้อเสื่อม และผู้ป่วยโรคแพ้ภูมิตัวเอง อย่างเช่น เอสแอลอี (SLE) หรือข้ออักเสบรูมาตอยด์ การบริโภคโอเมก้า-3 ทำให้ผู้ป่วยข้ออักเสบรูมาตอยด์มีอาการดีขึ้น โดยที่อาการบวมลดลงเจ็บปวดน้อยลง อาการข้อติดขัดในยามเช้าลดลง การเคลื่อนไหวข้อดีขึ้น และข้อมีแรงมากขึ้น ปริมาณการบริโภค ประมาณ 3 กรัม/วัน ติดต่อกัน อย่างน้อย 3 เดือน นอกจากคุณสมบัติการต้านอาการอักเสบที่โดดเด่นของ EPA แล้ว เมื่อปริมาณ EPA ในสมองลดลง ศูนย์หิวของมนุษย์จะถูกกระตุ้น การที่มีปริมาณ EPA ในสมองเพียงพอ จะทำให้เราไม่รู้สึกหิว ซึ่งเป็นความหวังใหม่ในการควบคุมน้ำหนักอีกด้วย EPA เป็นส่วนสำคัญในเซลล์ทุกเซลล์ของเราหากขาด EPA เซลล์ของเราจะไม่สามารถสื่อสารกันได้นักวิทยาศาสตร์พบว่า EPA ช่วยต้านอาการซึมเศร้า และโรคอารมณ์ปรวนแปรไม่คงที่ อาการที่เหมาะกับการใช้น้ำมันปลาในสูตรที่มี EPA สูง - ข้ออักเสบ และข้ออักเสบรูมาตอยด์ - อาการเจ็บปวด หรือเมื่อยกล้ามเนื้อ และอ่อนล้าเรื้อรัง (ME/CFS) - ผื่นแพ้ผิวหนัง สิว สะเก็ดเงิน (เรื้อนกวาง) - ภาวะสมาธิสั้น (ADHA) และการอ่านหนังสือไม่ออก (Dyslexia) - ภาวะซึมเศร้า (Depression) และอารมณ์ปรวนแปรสุดขั้ว (Bipolar Disorder) - โรคจิตเภท References 1. Sperling RI. Eicosanoids in rheumatoid arthritis. Rheum Dis Clin North Am. 1995 Aug;21(3):741-58. 2. James MJ, Gibson RA, Cleland LG. Dietary polyunsaturated fatty acids and inflammatory mediator production. Am J Clin Nutr. 2000 Jan;71(1 Suppl):343S-8S. 3. Pauwels EK, Kostkiewicz M. Fatty acid facts, Part III: Cardiovascular disease, or, a fish diet is not fishy. Drug News Perspect. 2008 Dec;21(10):552-61. (https://cc.lnwfile.com/_/cc/_raw/jn/py/58.png) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ฟิชเชอร์ อีพีเอ
|