หัวข้อ: ศูนย์ทางเดินอาหารและตับ เริ่มหัวข้อโดย: itroom0016 ที่ มิถุนายน 20, 2018, 05:52:34 pm (http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_0.jpg)
(http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_1.jpg) สภาวะการณ์ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินชีวิต อาหารที่รับประทาน ยาต่างๆ อาหารเสริม การถ่ายทอดทางพันธุกรรมรวมไปถึงสภาพแวดล้อม ส่งผลสู่ภาวะสุขภาพโดยรวม อาจทำให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหารและตับได้หลากหลาย เช่น โรคกระเพาะ โรคกรดไหลย้อน โรคลำไส้แปรปรวน โรคนิ่วในถุงน้ำดี นิ่วในท่อน้ำดี โรคไวรัสตับอักเสบ โรคไขมันเกาะตับ โรคตับแข็ง ไปจนถึง โรคมะเร็งตับ โรคมะเร็งลำไส้ เป็นต้น การรักษาแต่เนิ่นๆย่อมส่งผลให้โรคหายขาด บางโรคที่อาจกลับเป็นซ้ำหรือเรื้อรังควรได้รับการดูแลรักษาและคำแนะนำที่ถูกต้องเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_2.jpg) (http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_3.jpg) ระบบทางเดินอาหารและตับมีจุดเริ่มต้นจาก ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไล้เล็ก ลำใส้ใหญ่ ทวารหนักและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตับ ถุงน้ำดี ท่อน้ำดีและตับอ่อน มีอาการได้หลากหลายขึ้นกับตำแหน่งของพยาธิสภาพ บางโรครักษาหายขาด บางโรคเป็นเรื้อรังและบางโรคอาจเป็นจุดตั้งต้นของโรคมะเร็ง "หากมีอาการเหล่านี้แนะนำให้ปรึกษาแพทย์ เพื่อวินิจฉัยและรักษาอย่างเหมาะสม" อาการที่พบได้เมื่อมีภาวะเจ็บป่วยในระบบทางเดินอาหาร
โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์ ให้บริการรักษาและการวินิจฉัยปัญหา พร้อมให้คำปรึกษาอย่างครอบคลุมครบวงจร มีการตรวจวินิจฉัยโรคที่ละเอียดชัดเจน ด้วยอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ครบครัน ทำให้สามารถตรวจหาสาเหตุของการเกิดโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบทางเดินอาหารและตับ โดยให้บริการตรวจวินิจฉัยและรักษา ดังนี้ - ตรวจระบบทางเดินอาหารด้วยอัลตราซาวด์ (Ultrasonography) - ตรวจระบบทางเดินอาหารด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) - ตรวจระบบทางเดินอาหารด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) - ตรวจแบคทีเรีย H.Pyrori ในกระเพาะอาหาร (Urea breath test) - ตรวจแบคทีเรีย H.Pyrori ในกระเพาะอาหารด้วยการตรวจอุจจาระ (Stool Antigen for H.Pyrori) - ส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนต้น (EGD: Esophagogastroduodenoscopy) - ส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (Colonoscopy) - การส่องกล้องตัดชิ้นเนื้อที่ยื่นผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร (Polypectomy) - การตรวจวินิจฉัยถุงน้ำดีและทางเดินน้ำดีผ่านกล้องและฉีดสีทึบรังสี: Diagnostic ERCP (Endoscopic Retrograde Cholangio pancreatography) - การรักษามะเร็งตับด้วยการให้เคมีบำบัดผ่านทางหลอดเลือด: TACE (Trans-arterial Chemo-Embolization for Hepatocellular Carcinoma) - การรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับโดยการจี้ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ: RFA (Radio Frequency Ablation) - การผ่าตัดเปิดทางหน้าท้อง (Open Surgery) - การผ่าตัดแบบส่องกล้อง (Laparoscopic Surgery) การเจ็บป่วยในระบบทางเดินอาหาร เกิดขึ้นได้บ่อยพบได้ทุกกลุ่มอายุ ตั้งแต่วัยเรียน วัยทำงานและผู้สูงอายุโดยมีอาการแสดงที่หลากหลายบางโรคถูกตรวจพบโดยบังเอิญ เมื่อเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆและบางโรคเริ่มต้นจากไม่มีสัญญาณใดๆจนเริ่มมีอาการผิดปกติ เมื่อได้รับการตรวจค้นหาสาเหตุอาจเข้าสู่ระยะที่รักษาได้ยาก การเฝ้าระวังและป้องกันโรคมะเร็งบางชนิดตั้งแต่ก่อนเกิดโรค การได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆเพื่อหวังอัตราการหายและการมีชีวิตที่ยืนยาว เป็นสิ่งที่ได้รับความสนใจมากขึ้นและเป็นเป้าหมายของการตรวจรักษา ในปัจจุบันเราจึงมุ่งมั่น พัฒนา เตรียมพร้อมสำหรับการให้คำแนะนำและตรวจรักษาที่ทันสมัยได้มาตรฐานสากลโดยทีมแพทย์ผู้ชำนาญการ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างตรงจุดและการดูแลเอาใจใส่จากเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ขอบคุณบทความจาก : http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=54 หัวข้อ: Re: ศูนย์ทางเดินอาหารและตับ เริ่มหัวข้อโดย: itroom0016 ที่ มิถุนายน 21, 2018, 12:39:38 pm (http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_0.jpg)
(http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_1.jpg) สภาวะการณ์ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินชีวิต อาหารที่รับประทาน ยาต่างๆ อาหารเสริม การถ่ายทอดทางพันธุกรรมรวมไปถึงสภาพแวดล้อม ส่งผลสู่ภาวะสุขภาพโดยรวม อาจทำให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหารและตับได้หลากหลาย เช่น โรคกระเพาะ โรคกรดไหลย้อน โรคลำไส้แปรปรวน โรคนิ่วในถุงน้ำดี นิ่วในท่อน้ำดี โรคไวรัสตับอักเสบ โรคไขมันเกาะตับ โรคตับแข็ง ไปจนถึง โรคมะเร็งตับ โรคมะเร็งลำไส้ เป็นต้น การรักษาแต่เนิ่นๆย่อมส่งผลให้โรคหายขาด บางโรคที่อาจกลับเป็นซ้ำหรือเรื้อรังควรได้รับการดูแลรักษาและคำแนะนำที่ถูกต้องเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_2.jpg) (http://www.chularat.com/images/source/3/service/54/serv54_3.jpg) ระบบทางเดินอาหารและตับมีจุดเริ่มต้นจาก ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไล้เล็ก ลำใส้ใหญ่ ทวารหนักและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตับ ถุงน้ำดี ท่อน้ำดีและตับอ่อน มีอาการได้หลากหลายขึ้นกับตำแหน่งของพยาธิสภาพ บางโรครักษาหายขาด บางโรคเป็นเรื้อรังและบางโรคอาจเป็นจุดตั้งต้นของโรคมะเร็ง "หากมีอาการเหล่านี้แนะนำให้ปรึกษาแพทย์ เพื่อวินิจฉัยและรักษาอย่างเหมาะสม" อาการที่พบได้เมื่อมีภาวะเจ็บป่วยในระบบทางเดินอาหาร
โดยให้บริการตรวจวินิจฉัยและรักษา ดังนี้ - ตรวจระบบทางเดินอาหารด้วยอัลตราซาวด์ (Ultrasonography) - ตรวจระบบทางเดินอาหารด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) - ตรวจระบบทางเดินอาหารด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) - ตรวจแบคทีเรีย H.Pyrori ในกระเพาะอาหาร (Urea breath test) - ตรวจแบคทีเรีย H.Pyrori ในกระเพาะอาหารด้วยการตรวจอุจจาระ (Stool Antigen for H.Pyrori) - ส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนต้น (EGD: Esophagogastroduodenoscopy) - ส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (Colonoscopy) - การส่องกล้องตัดชิ้นเนื้อที่ยื่นผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร (Polypectomy) - การตรวจวินิจฉัยถุงน้ำดีและทางเดินน้ำดีผ่านกล้องและฉีดสีทึบรังสี: Diagnostic ERCP (Endoscopic Retrograde Cholangio pancreatography) - การรักษามะเร็งตับด้วยการให้เคมีบำบัดผ่านทางหลอดเลือด: TACE (Trans-arterial Chemo-Embolization for Hepatocellular Carcinoma) - การรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับโดยการจี้ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ: RFA (Radio Frequency Ablation) - การผ่าตัดเปิดทางหน้าท้อง (Open Surgery) - การผ่าตัดแบบส่องกล้อง (Laparoscopic Surgery) การเจ็บป่วยในระบบทางเดินอาหาร เกิดขึ้นได้บ่อยพบได้ทุกกลุ่มอายุ ตั้งแต่วัยเรียน วัยทำงานและผู้สูงอายุโดยมีอาการแสดงที่หลากหลายบางโรคถูกตรวจพบโดยบังเอิญ เมื่อเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆและบางโรคเริ่มต้นจากไม่มีสัญญาณใดๆจนเริ่มมีอาการผิดปกติ เมื่อได้รับการตรวจค้นหาสาเหตุอาจเข้าสู่ระยะที่รักษาได้ยาก การเฝ้าระวังและป้องกันโรคมะเร็งบางชนิดตั้งแต่ก่อนเกิดโรค การได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆเพื่อหวังอัตราการหายและการมีชีวิตที่ยืนยาว เป็นสิ่งที่ได้รับความสนใจมากขึ้นและเป็นเป้าหมายของการตรวจรักษา ในปัจจุบันเราจึงมุ่งมั่น พัฒนา เตรียมพร้อมสำหรับการให้คำแนะนำและตรวจรักษาที่ทันสมัยได้มาตรฐานสากลโดยทีมแพทย์ผู้ชำนาญการ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างตรงจุดและการดูแลเอาใจใส่จากเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี เครดิต : http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=54
|