หัวข้อ: ลิ้นหัวใจ เริ่มหัวข้อโดย: itroom0016 ที่ กรกฎาคม 03, 2018, 02:40:16 pm 1) ความพิการของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด(Congenital Valve Disease) เช่น ลิ้นหัวใจตีบ เด็กที่เป็นโรคกลุ่มนี้ จะมีอาการตั้งแต่แรกคลอด และมักจะต้องรักษาด้วยการผ่าตัด 2) โรคลิ้นหัวใจรูมาติกส์(Rheumatic Heart Disease) เป็นโรคลิ้นหัวใจผิดปกติชนิดที่พบมากที่สุดในประเทศไทย เกิดจากการติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส กรุ๊ป เอ ทำให้เกิดไข้รูมาติกส์เมื่อครั้งผู้ป่วยยังเป็นเด็กและมีผลทำลายลิ้นหัวใจ ของผู้ป่วยในระยะยาว ส่วนมากจะเริ่มอาการแสดงความผิดปกติของหัวใจ 5-10 ปี หลังจากเป็นไข้รูมาติกส์ 3) โรคลิ้นหัวใจผิดปกติจากการเสื่อมสภาพ(Degenerative Valve Disease) มักพบในผู้ป่วยสูงอายุ เกิดจากการเสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อของลิ้นหัวใจ ทำให้เกิดการผิดปกติของการเปิดหรือปิดของลิ้น เช่น ลิ้นไมตรัลรั่ว ซึ่งเกิดจากตัวลิ้นมีการเสื่อมและยืดตัวมาก หรือลิ้นเอออร์ติกตีบในผู้สูงอายุ ซึ่งเกิดจากการเสื่อมของเนื้อเยื่อและมีหินปูนมาเกาะที่ตัวลิ้น (Calcification) 4) โรคลิ้นหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ(Infective Endocarditis) เกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia) และตัวเชื้อโรคไปเกาะกินที่ลิ้นหัวใจ ผู้ป่วยจะมีอาการเฉียบพลัน และหัวใจวายรุนแรงรวดเร็วมาก ซึ่งเกิดจากการฉีกขาดของตัวลิ้น และทำให้เกิดการรั่วของลิ้นอย่างรุนแรง กลุ่มโรคนี้ส่วนหนึ่งพบในผู้ป่วยที่ใช้ ยาเสพติดฉีดเข้าเส้นโดยใช้เข็มที่ไม่สะอาดพอ เป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าในกระแสโลหิตได้ อย่างไรก็ตาม สามารถพบโรคลิ้นหัวใจอักเสบนี้ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดยาเสพติดได้ โดยเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางอื่น เช่น ทางฟันในผู้ป่วยที่มีการอักเสบของฟันหรือฟันผุ (Infective Endocarditis) เกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia) และตัวเชื้อโรคไปเกาะกินที่ลิ้นหัวใจ ผู้ป่วยจะมีอาการเฉียบพลัน และหัวใจวายรุนแรงรวดเร็วมาก ซึ่งเกิดจากการฉีกขาดของตัวลิ้น และทำให้เกิดการรั่วของลิ้นอย่างรุนแรง กลุ่มโรคนี้ส่วนหนึ่งพบในผู้ป่วยที่ใช้ ยาเสพติดฉีดเข้าเส้นโดยใช้เข็มที่ไม่สะอาดพอ เป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าในกระแสโลหิตได้ อย่างไรก็ตาม สามารถพบโรคลิ้นหัวใจอักเสบนี้ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดยาเสพติดได้ โดยเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางอื่น เช่น ทางฟันในผู้ป่วยที่มีการอักเสบของฟันหรือฟันผุ แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติ[list=1]
3) ลิ้นหัวใจของมนุษย์ (Homograft Heart Valve)จากผู้บริจาคอวัยวะ วิธีนี้เป็นการนำลิ้นหัวใจจากผู้เสียชีวิตที่ได้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะไว้ตั้งแต่ก่อนเสียชีวิต หรือได้รับอนุญาตจากญาติผู้เสียชีวิตให้นำลิ้นหัวใจมาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งถ้านำมาผ่านกระบวนการเตรียมและเก็บโดยวิธีพิเศษจะสามารถเก็บรักษาไว้ใช้ได้ถึง 5 ปี ผู้เสียชีวิตที่สามารถบริจาคลิ้นหัวใจมี 3 ประเภท คือ 1) ผู้เสียชีวิตจากสมองตาย ที่บริจาคอวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายอวัยวะ แต่หัวใจมีสภาพไม่เหมาะสมที่จะนำไปปลูกถ่ายได้ 2) ผู้เสียชีวิตที่หัวใจหยุดเต้น ทั้งนี้ผู้บริจาคต้องไม่มีข้อห้ามในการนำลิ้นหัวใจไปใช้ ซึ่งจะพิจารณาจาก อายุ สาเหตุการเสียชีวิต ระยะเวลาที่เสียชีวิต การติดเชื้อต่าง ๆ เป็นต้น 3) ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายหัวใจใหม่ สามารถบริจาคหัวใจดวงเก่าไม่มีพยาธิสภาพที่ลิ้นหัวใจ ข้อดี:โอกาสเกิดการติดเชื้อของลิ้น ต่ำมาก อายุการใช้งานนานพอสมควร (10-22 ปี) ไม่ต้องรับประทานยากันเลือดแข็งตัว เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด ที่ลิ้นหัวใจน้อย ไม่มีเสียงของลิ้นหัวใจดังรบกวน ดีมากในกรณีโรคลิ้นหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ ข้อเสีย: ต้องได้จากผู้บริจาคอวัยวะเท่านั้น มีความสลับซับซ้อนในขั้นตอนการเก็บรักษา (Valve Preservation) การผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจนี้แก่ผู้ป่วยค่อนข้างมีความยุ่งยากมากกว่าการใส่ลิ้นหัวใจ 2 ชนิดแรก ถึงแม้ว่าในการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจให้แก่ผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติจะมีชนิดลิ้นให้เลือกหลายชนิด ซึ่งมีความแตกต่างกันในคุณลักษณะ คุณสมบัติ อายุการใช้งาน ความยากง่ายในการผ่าตัดรวมถึงราคาที่แตกต่างกัน สิ่งหนึ่งที่ควรตระหนักและขอเน้นก็คือ ลิ้นหัวใจแต่ละชนิดนี้ไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้ ผู้ป่วยแต่ละรายจะมีชนิดของลิ้นหัวใจที่เหมาะสมที่สุด เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ศัลยแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดจำเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบในการเลือกใช้ลิ้นหัวใจให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งต้องอธิบายเหตุผลและรายละเอียดให้ผู้ป่วยเข้าใจด้วย[/color] หัวข้อ: Re: ลิ้นหัวใจ เริ่มหัวข้อโดย: itroom0016 ที่ กรกฎาคม 04, 2018, 09:58:23 am [img width=700,height=439]https://i0.wp.com/www.108news.net/wp-content/uploads/2018/07/Heart-valve-leak1.jpg[/img]ลักษณะและหน้าที่ของลิ้นหัวใจหัวใจมีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปทั่วร่างกาย ประกอบด้วยห้องหัวใจ 4 ห้อง โดยมี ลิ้นหัวใจ ซึ่งเป็นอวัยวะที่คอยปิดและเปิดให้เลือดผ่านเข้าออกในแต่ละห้องหัวใจทั้งหมดจำนวน 4 ลิ้น ได้แก่ ลิ้นเอออร์ติก (Aortic Valve) ลิ้นไมตรัล (Mitral Valve) ลิ้นไตรคัสปิด (Tricuspid Valve) และลิ้นพูลโมนิค (Pulmonic Valve) ลิ้นทั้งสี่นี้จะทำงานประสานกันเพื่อให้หัวใจสามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ หากลิ้นหัวใจมีความผิดปกติ ไม่ว่าจะเกิดการตีบ (Stenosis) หรือรั่ว (Regurgitation) จะทำให้การทำงานของหัวใจผิดปกติด้วย ไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้ตามปกติ นอกจากนั้นยังอาจทำให้มีเลือดคั่งในปอด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย ถ้าเป็นมากขึ้น จะนอนราบศีรษะต่ำไม่ได้ เนื่องจากอาการแน่น และเหนื่อยหายใจลำบาก พยาธิสภาพหรือสาเหตุของความผิดปกติของลิ้นหัวใจ แบ่งได้ดังนี้ 1) ความพิการของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด(Congenital Valve Disease) เช่น ลิ้นหัวใจตีบ เด็กที่เป็นโรคกลุ่มนี้ จะมีอาการตั้งแต่แรกคลอด และมักจะต้องรักษาด้วยการผ่าตัด 2) โรคลิ้นหัวใจรูมาติกส์(Rheumatic Heart Disease) เป็นโรคลิ้นหัวใจผิดปกติชนิดที่พบมากที่สุดในประเทศไทย เกิดจากการติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส กรุ๊ป เอ ทำให้เกิดไข้รูมาติกส์เมื่อครั้งผู้ป่วยยังเป็นเด็กและมีผลทำลายลิ้นหัวใจ ของผู้ป่วยในระยะยาว ส่วนมากจะเริ่มอาการแสดงความผิดปกติของหัวใจ 5-10 ปี หลังจากเป็นไข้รูมาติกส์ 3) โรคลิ้นหัวใจผิดปกติจากการเสื่อมสภาพ(Degenerative Valve Disease) มักพบในผู้ป่วยสูงอายุ เกิดจากการเสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อของลิ้นหัวใจ ทำให้เกิดการผิดปกติของการเปิดหรือปิดของลิ้น เช่น ลิ้นไมตรัลรั่ว ซึ่งเกิดจากตัวลิ้นมีการเสื่อมและยืดตัวมาก หรือลิ้นเอออร์ติกตีบในผู้สูงอายุ ซึ่งเกิดจากการเสื่อมของเนื้อเยื่อและมีหินปูนมาเกาะที่ตัวลิ้น (Calcification) 4) โรคลิ้นหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ(Infective Endocarditis) เกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia) และตัวเชื้อโรคไปเกาะกินที่ลิ้นหัวใจ ผู้ป่วยจะมีอาการเฉียบพลัน และหัวใจวายรุนแรงรวดเร็วมาก ซึ่งเกิดจากการฉีกขาดของตัวลิ้น และทำให้เกิดการรั่วของลิ้นอย่างรุนแรง กลุ่มโรคนี้ส่วนหนึ่งพบในผู้ป่วยที่ใช้ ยาเสพติดฉีดเข้าเส้นโดยใช้เข็มที่ไม่สะอาดพอ เป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าในกระแสโลหิตได้ อย่างไรก็ตาม สามารถพบโรคลิ้นหัวใจอักเสบนี้ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดยาเสพติดได้ โดยเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางอื่น เช่น ทางฟันในผู้ป่วยที่มีการอักเสบของฟันหรือฟันผุ (Infective Endocarditis) เกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia) และตัวเชื้อโรคไปเกาะกินที่ลิ้นหัวใจ ผู้ป่วยจะมีอาการเฉียบพลัน และหัวใจวายรุนแรงรวดเร็วมาก ซึ่งเกิดจากการฉีกขาดของตัวลิ้น และทำให้เกิดการรั่วของลิ้นอย่างรุนแรง กลุ่มโรคนี้ส่วนหนึ่งพบในผู้ป่วยที่ใช้ ยาเสพติดฉีดเข้าเส้นโดยใช้เข็มที่ไม่สะอาดพอ เป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าในกระแสโลหิตได้ อย่างไรก็ตาม สามารถพบโรคลิ้นหัวใจอักเสบนี้ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดยาเสพติดได้ โดยเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางอื่น เช่น ทางฟันในผู้ป่วยที่มีการอักเสบของฟันหรือฟันผุ แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติ[list=1]
และขยายลิ้นโดยบอลลูนนั้น[/*]
3) ลิ้นหัวใจของมนุษย์ (Homograft Heart Valve)จากผู้บริจาคอวัยวะ วิธีนี้เป็นการนำลิ้นหัวใจจากผู้เสียชีวิตที่ได้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะไว้ตั้งแต่ก่อนเสียชีวิต หรือได้รับอนุญาตจากญาติผู้เสียชีวิตให้นำลิ้นหัวใจมาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งถ้านำมาผ่านกระบวนการเตรียมและเก็บโดยวิธีพิเศษจะสามารถเก็บรักษาไว้ใช้ได้ถึง 5 ปี ผู้เสียชีวิตที่สามารถบริจาคลิ้นหัวใจมี 3 ประเภท คือ 1) ผู้เสียชีวิตจากสมองตาย ที่บริจาคอวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายอวัยวะ แต่หัวใจมีสภาพไม่เหมาะสมที่จะนำไปปลูกถ่ายได้ 2) ผู้เสียชีวิตที่หัวใจหยุดเต้น ทั้งนี้ผู้บริจาคต้องไม่มีข้อห้ามในการนำลิ้นหัวใจไปใช้ ซึ่งจะพิจารณาจาก อายุ สาเหตุการเสียชีวิต ระยะเวลาที่เสียชีวิต การติดเชื้อต่าง ๆ เป็นต้น 3) ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายหัวใจใหม่ สามารถบริจาคหัวใจดวงเก่าไม่มีพยาธิสภาพที่ลิ้นหัวใจ ข้อดี:โอกาสเกิดการติดเชื้อของลิ้น ต่ำมาก อายุการใช้งานนานพอสมควร (10-22 ปี) ไม่ต้องรับประทานยากันเลือดแข็งตัว เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด ที่ลิ้นหัวใจน้อย ไม่มีเสียงของลิ้นหัวใจดังรบกวน ดีมากในกรณีโรคลิ้นหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ ข้อเสีย:ต้องได้จากผู้บริจาคอวัยวะเท่านั้น มีความสลับซับซ้อนในขั้นตอนการเก็บรักษา (Valve Preservation) การผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจนี้แก่ผู้ป่วยค่อนข้างมีความยุ่งยากมากกว่าการใส่ลิ้นหัวใจ 2 ชนิดแรก ถึงแม้ว่าในการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจให้แก่ผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติจะมีชนิดลิ้นให้เลือกหลายชนิด ซึ่งมีความแตกต่างกันในคุณลักษณะ คุณสมบัติ อายุการใช้งาน ความยากง่ายในการผ่าตัดรวมถึงราคาที่แตกต่างกัน สิ่งหนึ่งที่ควรตระหนักและขอเน้นก็คือ ลิ้นหัวใจแต่ละชนิดนี้ไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้ ผู้ป่วยแต่ละรายจะมีชนิดของลิ้นหัวใจที่เหมาะสมที่สุด เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ศัลยแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดจำเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบในการเลือกใช้ลิ้นหัวใจให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งต้องอธิบายเหตุผลและรายละเอียดให้ผู้ป่วยเข้าใจด้วย [/color]
|