แสดงกระทู้
|
หน้า: [1] 2 3 ... 12
|
1
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / แบะแซ, กลูโคสก้อน, น้ำเชื่อมแบะแซ, แบะแซแก้ว, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, Gluc
|
เมื่อ: มีนาคม 22, 2025, 04:42:29 pm
|
แบะแซ, กลูโคสก้อน, น้ำเชื่อมแบะแซ, แบะแซแก้ว, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, Glucose Syrup, G40S ผลิตแบะแซ, โรงงานแบะแซ, จำหน่ายแบะแซ, นำเข้าแบะแซ, ส่งออกแบะแซ, บริษัทแบะแซ, แบะแซไทย, แบะแซG40S ผลิตกลูโคสก้อน, โรงงานกลูโคสก้อน, จำหน่ายกลูโคสก้อน, นำเข้ากลูโคสก้อน, ส่งออกกลูโคสก้อน, กลูโคสก้อนG40S สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034854888 Mobile: 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888@gmail.comWeb: www.thaipolychemicals.comUD TPCC THAILAND SYRUP G40S  ข้อมูลสินค้า แบะแซ น้ำเชื่อมกลูโคส (GLUCOSE SYRUP) ชื่อเรียกอื่น ๆ ของ แบะแซ น้ำเชื่อมกลูโคส (Synonym of Glucose Syrup) ได้แก่ น้ำเชื่อมกลูโคส, น้ำตาลกลูโคส, กลูโคสไซรัป, กลูโคสไซรัพ, กลูโคสซีรัป, กลูโคสซีรัพ, กลูโคสเหลว, กลูโคสน้ำ, กลูโคสผง, แบะแซ, แป๊ะแซ, น้ำเชื่อม G40S, ไซรัป G40S, แบะแซ G40S, กลูโคสก้อน, กลูโคสข้น, กลูโคสเหนียว, กลูโคสแบะแซ, แบะแซน้ำ, แบะแซเหลว, แบะแซผง, แบะแซG40S, สารให้ความหวาน, สวีทเทนเนอร์, สวีทเทนนิ่งเอเจ้น, Glucose Syrup, Liquid Glucose, Glucose Solution, Glucose G40S, Syrup G40S, Sweetener, Sweetening Agent รายละเอียดทั่วไปของผลิตภัณฑ์ แบะแซ หรือ กลูโคสไซรัป (Glucose Syrup) หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ผลิตมาจากแป้งมันสำปะหลัง ซึ่งจะมีน้ำตาลกลูโคสชนิดหนึ่ง เป็นผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อม ที่มีลักษณะ เหนียว ใส หนืด มีทั้งชนิดใสและสีเหลืองน้ำตาลอ่อน นิยมใช้เพื่อช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น ไม่ตกผลึกหรือมีลักษณะเนื้อเป็นทราย เหมือนน้ำตาลประเภทอื่นๆ ในต่างประเทศเราจะพบว่ามี Corn Syrup ซึ่งเป็นแบะแซอีกชนิดหนึ่ง เป็นน้ำตาลที่ได้จากการเปลี่ยนแป้งข้าวโพดให้เป็นน้ำตาล ซึ่งเป็นแหล่งสารให้ความหวานราคาถูก เพื่อใช้ทดแทนน้ำตาลเช่นเดียวกัน แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน ที่นิยมใช้ให้ความหวานแทนน้ำตาล นิยมใช้กันทั้งในอุตสาหกรรมอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป ขนมหวาน น้ำหวาน ลูกกวาด ลูกอม รวมทั้งอุตสาหกรรมยาอีกด้วย แบะแซเป็นสารให้ความหวาน ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง หรือแป้งข้าวโพด โดยส่วนใหญ่จะใช้เพื่อทดแทนน้ำตาล หรือทำให้น้ำตาลเกิดการรัดตัวเร็วขึ้น มักใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหาร และการผลิตของหวานเป็นส่วนใหญ่ แบะแซยังช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น แก้ปัญหาการตกทรายหรือน้ำตาลตกผลึกได้เป็นอย่างดี นิยมนำมาทำกระยาสารท ทำน้ำราดข้าวหมูแดง หรือเพิ่มความเหนียวข้นให้กับน้ำจิ้ม น้ำปรุง น้ำหวาน เป็นต้น ความแตกต่างระหว่าง แบะแซ และ น้ำเชื่อม แบะแซเกิดจากการย่อยแป้งจนกลายเป็นน้ำตาล กลายเป็นผลิตภัณฑ์ให้ความหวานที่เหนียวหนืด แต่น้ำเชื่อมนั้นเกิดจากการละลายน้ำตาลกับน้ำเปล่า กระบวนการผลิตจึงมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน อีกทั้งน้ำเชื่อมยังให้ความหวานแหลม ซึ่งหวานมากกว่าแบะแซอีกด้วย หากวางแบะแซทิ้งไว้ ก็จะไม่ตกผลึกหรือเป็นทราย เหมือนกับน้ำเชื่อม ประโยชน์และการนำแบะแซไปใช้งาน แบะแซะ หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ใช้เป็นสารให้ความหวาน เช่นเดียวกับน้ำตาล ความหวาน ความใส และความหนืด (Viscosity) ของน้ำเชื่อมกลูโคส ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ ที่แสดงด้วย ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส (Dextrose Equivalent) หรือค่า DE น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE มาก จะมีปริมาณกลูโคสมาก จะมีรสหวานและใสมากขึ้น แต่ความหนืดจะลดน้อยลง  ข้อมูล ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส (DE) ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส หรือ Dextrose Equivalent หรือ เรียกสั้นๆว่า DE คือ ปริมาณร้อยละของน้ำตาลรีดิวซ์ (Reducing Sugar) คิดเป็นปริมาณน้ำตาลเด็กซ์โทรส (Dextrose) ที่มีอยู่ในคาร์โบไฮเดรตทั้งหมด ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้ค่า Dextrose Equivalent (DE) แสดงถึงระดับการย่อยแป้ง (Flour) หรือ สตาร์ช (Starch) ให้เป็นน้ำตาลกลูโคสหรือเด็กซ์โทรส โดยสตาร์ซ (Starch) มีค่า DE เท่ากับ 0 ขณะที่น้ำตาลกลูโคสมีค่า DE เท่ากับ 100 ตัวอย่างค่า DE ของคาร์โบไฮเดรตบางชนิด เช่น มอลโทเด็กซ์ทริน (Maltodextrin) มีค่า DE เท่ากับ 8, 10, 12, 20, 30 เป็นต้น ค่า Dextrose Equivalent ใช้เป็นข้อกำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการย่อยแป้งให้มีโมเลกุลเล็กลง (Starch Hydrolysis) ซึ่งใช้เป็นสารให้ความหวาน (Sweetener) โดยจะไม่นิยมกำหนดค่าความหวาน (Relative Sweetness) แต่จะกำหนดเป็นค่า DE แทน ค่า DE ที่สูงกว่า แสดงว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีความหวานมากกว่าค่า DE ที่ต่ำกว่า ค่า Dextrose Equivalent ของน้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup) หมายถึง ปริมาณน้ำตาลเด็กซ์โทรส (Dextrose, ซึ่งคือ D-glucose) ที่มีอยู่ในน้ำเชื่อมกลูโคสทั้งหมด โดยน้ำหนักแห้ง หากสตาร์ช (Starch) ถูกไฮโดรไลซ์เป็นน้ำตาลกลูโคสมาก จะทำให้ได้น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE สูงมีความหวานมาก และมีความใสมากขึ้น แบะแซ คือสารละลายของน้ำตาล จำพวก เด็กซ์โตรส มอลโตส กลูโตเด็กซ์ทริน ได้จากการย่อยแป้งด้วยเอนไซม์ ซึ่งแป้งเหล่านี้ได้มาจาก ข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝรั่ง มันสำปะหลัง เป็นต้น โดยแบะแซ ในประเทศไทยนิยมทำมาจากมันสำปะหลัง แบะแซมีลักษณะ เหนียว ใส นิยมนำมาใช้ในการทำขนม ผลไม้กวน และอาหารอีกหลากหลายชนิด กลูโคสไซรัป เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายแป้ง มีลักษณะเป็นของเหลว ใส เหนียว ข้น รสหวานเล็กน้อย ไม่มีสี ใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารหลากหลายชนิด เช่น ลูกกวาด ทอฟฟี่ต่าง ๆ ผลไม้กวน น้ำผลไม้ผง ไอศกรีม ครีมเทียม และเครื่องดื่มต่าง ๆ เป็นต้น น้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup) อาจเรียกว่า กลูโคสไซรัป หรือ แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน (Sweetener) ที่เป็น ของเหลว ใส และข้นหนืด การผลิต น้ำเชื่อมกลูโคส น้ำเชื่อมกลูโคส เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยโมเลกุลของสตาร์ชให้เล็กลง (Starch Hydrolysis) การผลิตน้ำเชื่อมกลูโคส มีวัตถุดิบหลักคือ สตาร์ช (Starch) จากแป้ง เช่น แป้งข้าวโพด แป้งมันสำปะหลัง แป้งข้าวเจ้า นำมาผสมกับน้ำ แล้วทำให้สุก (Gelatinization) หลังจากนั้นน้ำแป้งสุกจะถูกย่อย (Hydrolysis) ด้วยกรดหรือเอนไซม์ (Enzyme) ที่ย่อยสตาร์ชได้ เช่น Amylase ทำให้สตาร์ชมีขนาดโมเลกุลเล็กลง กระบวนการทำให้สตาร์ชมีโมเลกุลเล็กลง เรียกว่า Starch Hydrolysis ได้เป็นน้ำเชื่อมกลูโคสที่เป็นของเหลว ใส หวาน ข้น หนืด มีส่วนประกอบเป็นน้ำตาลกลูโคส (Glucose) มอลโทส (Maltose) และโอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide) ปัจจุบันนิยมผลิตกลูโคสไซรัป ด้วยการย่อยด้วยเอนไซม์ เนื่องจาก ให้ความบริสุทธ์ของกลูโคสมากกว่าการย่อยด้วยกรด คุณสมบัติของ น้ำเชื่อมกลูโคส น้ำเชื่อมกลูโคส ใช้เป็นสารให้ความหวาน เหมือนน้ำตาล ความหวาน ความใส และความหนืด (Viscosity) ของน้ำเชื่อมกลูโคส ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ ที่แสดงด้วยค่า Dextrose Equivalent หรือ DE น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE มาก จะมีปริมาณกลูโคสมาก จะมีรสหวานและใสมากขึ้น แต่ความหนืดน้อยลง วัตถุประสงค์ การใช้น้ำเชื่อมกลูโคสในอาหาร เพื่อให้ความหวาน (Sweetener) หรือเพิ่มความหวานให้อาหาร ป้องกันการตกผลึกของน้ำตาล ปรับปรุงเนื้อสัมผัส (Texture) และเป็นวัตถุดิบหลักของการผลิต น้ำเชื่อมฟรักโทส หรือ ฟรักโทสไซรัป (Fructose Syrup) ซึ่งมีความหวานมากกว่าน้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup)  การใช้กลูโคสไซรัป ในผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องดื่ม (Drink and Beverage) ครีมเทียม (Non-Dairy Creamer), NDC น้ำอัดลม (Carbonated Beverage) ขนมหวาน (Confectionery) ลูกกวาด (Candy) ไอศกรีม (Ice Cream) แยม (Jam) ผลไม้กวน (Preserved Fruit) ซอส, น้ำจิ้ม (Sauce, Seasoning) ยาแก้ไอ, ยาน้ำเชื่อม, ยาไซรัป (Syrup) เป็นต้น สารให้ความหวานในชีวิตประจำวัน สารให้ความหวานที่เรารู้จักกันดี มักมาในรูปแบบ น้ำตาลทราย น้ำตาลปี๊บ และน้ำเชื่อม แต่ยังมีอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์สารให้ความหวาน ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหาร นั่นก็คือ “แบะแซ” ซึ่งเป็นสารให้ความหวานใกล้ตัว ที่หลายคนรู้จักและพบเห็นเป็นประจำในอาหาร หรือขนมที่เรารับประทานในชีวิตประจำวัน ชื่อของแบะแซ อาจจะคุ้นหูกับคนที่ชื่นชอบการทำอาหารหรือทำขนมมาบ้าง แต่คงมีอีกหลายคนที่ไม่รู้จักกับผลิตภัณฑ์ให้ความหวานอย่างแบะแซ ว่าแท้จริงแล้ว แบะแซคืออะไร มีประโยชน์หรือคุณสมบัติอย่างไร และนิยมนำไปใช้ทำอะไร แบะแซ คืออะไร แบะแซ หรืออีกหนึ่งชื่อเรียกคือ น้ำเชื่อมกลูโคส หรือ กลูโคสไซรัป (Glucose Syrup) หรือกลูโคสก้อน เป็นสารชีวิโมเลกุล ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง จะมีลักษณะเหนียวใส หนืด มีทั้งแบบใสและสีเหลืองน้ำตาล ส่วนใหญ่จะใช้เพื่อช่วยทำให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น แก้ปัญหาน้ำตาลตกผลึก หรือเป็นทราย ประเภทของ แบะแซ แบะแซน้ำ : มักจะใช้ในการทำอาหารหรือเป็นส่วนผสมในอาหารทั่วไป เช่น น้ำราดข้าวหมูแดง, น้ำจิ้ม, ซอสเคลือบไก่ย่างเกาหลี, ช็อคโกแลต, ไอศกรีม แบะแซช่วยทำให้ไอศกรีมละลายช้าลง, กระยาสารท, ขนมถั่วตัด และ ขนมหนวดมังกร เป็นต้น แบะแซผง : นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เช่น ลูกอม, ขนมหวาน, ลูกกวาด รวมทั้ง อุตสาหกรรมยา และช่วยเคลือบเงาผลิตภัณฑ์อาหารได้อีกด้วย “แบะแซผง” เป็นการแปรรูปผลิตภัณฑ์ Glucose Syrup ใช้ประกอบการเคลือบเงาผลิตภัณฑ์ เช่นขนมเม็ดสีของเด็ก ๆ ลูกอมต่าง ๆ เพิ่มเนื้อสัมผัส หรือปรับปรุงลักษณะของผลิตภัณฑ์ แต่เนื่องจากแบะแซผง ได้ผ่านกระบวนการทำให้แห้งด้วยระบบ “สเปรย์ดราย” ทำให้สามารถเก็บรักษาได้ยาวนานขึ้น เมื่อเก็บรักษาในภาชนะปิดผนึก ที่อุณหภูมิห้อง และยังสะดวกต่อการนำไปใช้งานในลักษณะผสมแห้ง หรือ ดรายมิกซ์ (Dry Mix) อีกทั้งยังสามารถปรับค่า Brix ได้ตามสัดส่วนการละลายในน้ำอุ่น จึงเป็นผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อผู้ใช้งานในอุตสาหกรรมอาหาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงงานอุตสาหกรรมที่ทันสมัยจึงนิยมใช้ แบะแซผง หรือ กลูโคสผง กันอย่างแพร่หลายมากขึ้นในปัจจุบัน แบะแซ และ น้ำเชื่อม แตกต่างกันอย่างไร แบะแซ เป็นสารชีวโมเลกุล ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง เป็นผลิตภัณฑ์ให้ความหวานที่เหนียวหนืด แต่สำหรับน้ำเชื่อมนั้น เกิดจากการละลายน้ำตาลกับน้ำเปล่า ซึ่งกระบวนการผลิตแบะแซและน้ำเชื่อมก็แตกต่างกัน อีกทั้งน้ำเชื่อม ยังให้ความหวานมากกว่าแบะแซอีกด้วย ที่สำคัญ หากวางแบะแซทิ้งไว้ก็จะไม่ตกผลึกหรือเป็นทราย เหมือนกับน้ำเชื่อมนั่นเอง คุณสมบัติในการใช้งานของแบะแซ แบะแซ ผลิตมาจากแป้งมันสำปะหลัง มีลักษณะเหนียวใส มีความข้นหนืด และความหวานต่ำ สามารถใช้แบะแซเป็นส่วนผสมในอาหารแทนการใช้น้ำตาลได้เป็นอย่างดี ส่วนมากจะใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ที่ต้องการความหวาน เพื่อช่วยในเรื่องลดเวลาในกระบวนการผลิต เช่น การใช้แบะแซร่วมกับน้ำตาล จะช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น ตัวอย่างเช่น เวลากวนไส้ขนมเปี๊ยะ แบะแซจะช่วยทำให้ไส้ขนมเกาะตัว ทำให้ปั้นขนมง่ายขึ้นนั่นเอง และยังมีความหนืดคงที่ ไม่คืนตัว ด้วยคุณสมบัติพิเศษข้างต้น ทำให้แบะแซเป็นที่นิยมนำมาผสม เพื่อกวนไส้ขนม, ลูกชุบ, ขนมเปี๊ยะ จะช่วยให้ไส้ขนมเกาะตัวกัน เวลาปั้นไส้ สามารถปั้นได้ง่ายขึ้นนั่นเอง ประโยชน์ของแบะแซ แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน ที่แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลัง ส่วนใหญ่จะใช้แทนน้ำตาล หรือทำให้น้ำตาลเกิดการรัดตัวเร็วขึ้น มักจะใช้ในการทำอาหารหรือขนมหวานเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในชีวิตประจำวัน เราสามารถพบเห็นการนำแบะแซไปประกอบอาหารหรือทำขนมได้โดยทั่วไป เพราะนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยส่วนใหญ่จะนิยมใช้ทำเป็นกระยาสารท, ลูกอม, น้ำจิ้ม, ซอส, ไส้ขนม, น้ำราดข้าวหมูแดง เป็นต้น อาหารเหล่านี้ก็ล้วนแล้วแต่มีส่วนผสมของแบะแซอยู่ นอกจากนี้ยังสามารถดัดแปลง นำมาใช้เคลือบอาหารเพื่อทำให้ดูขึ้นเงา น่ารับประทานยิ่งขึ้นอีกด้วย ผลิตภัณฑ์แบะแซ จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือก เป็นตัวช่วยเพิ่มความความอร่อยของอาหารมากยิ่งขึ้น โดยผลิตภัณฑ์แบะแซ ของไทยโพลี แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลัง ให้ความหวานประมาณ 70% ของน้ำตาลทราย นิยมใช้เป็นส่วนผสมในการกวนไส้ขนม เช่น ถั่วกวนในขนมเปี๊ยะ จะช่วยให้ปั้นไส้ง่ายขึ้น และอาหารประเภทน้ำราดข้าวหมูแดง, กระยาสารท, ซอสเคลือบไก่ย่างเกาหลี, ซอสเคลือบเป็ดย่าง ก็ใช้เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล นอกจากจะสามารถนำแบะแซไปทำของหวาน หรืออาหารต่าง ๆ แล้ว ยังสามารถนำ แบะแซ ไทยโพลี ไปใช้เป็นส่วนผสมในการทำนมหนืด สำหรับเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ หรือใช้เป็นส่วนผสมในการเคลือบ ทำให้อาหารหรือขนมหวานของเราเงางาม เช่น กรอบเค็ม ครองแครง เป็นต้น แบะแซ มีหลายเกรด หลายคุณสมบัติ หลายคุณภาพด้วยกัน โดยแบะแซในประเทศไทย ส่วนใหญ่นิยมทำมาจากมันสำปะหลัง ซึ่งผลิตภัณฑ์ แบะแซ ไทยโพลี แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลังคุณภาพดีเยี่ยม ให้ความหวานประมาณ 70% ของน้ำตาลทราย เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ในการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดเวลาในการประกอบอาหารที่คุณชื่นชอบ และเพิ่มความหวานให้อาหารมีรสชาติชวนรับประทานมากยิ่งขึ้น สามารถสั่งซื้อแบะแซ หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ได้โดยตรงที่ ฝ่ายขาย วัตถุเจือปนอาหาร บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด โทร 034854888 โทร 0893128888 ไลน์ไอดี thaipoly8888 อีเมลล์แอดเดรส polychemicals888@gmail.com เว็บไซต์ www.thaipolychemicals.com ผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อม หรือ ไซรัป, ซีรัป (Syrup) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป, เด็กซ์โตรสซีรัป, น้ำตาลเดกซ์โทรส Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป, ฟรุกโตสซีรัป, น้ำตาลฟรักโทส Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป, กลูซิทอลซีรัป Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, กลูโคสซีรัป, น้ำตาลกลูโคส Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลติทอล, มอลติทอลไซรัป, มอลติทอลซีรัป Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป, มอลโทสซีรัป, น้ำตาลมอลโทส Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป, ซอร์บิทอลซีรัป ผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อมผง หรือ พาวเดอร์ (Powder) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ Dextrose Powder, เดกซ์โตรสผง, ผงเดกซ์โตรส, น้ำตาลเดกซ์โทรส Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ผงฟรุกโตส, ฟรักโทสผง, น้ำตาลฟรักโทส Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล, กลูซิตอล Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง Maltitol Powder, มอลติทอลผง, ผงมอลติทอล, มอลทิทอล Maltose Powder, มอลโทสผง, ผงมอลโทส, มอลโตส Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล More information of syrup, natural sweetener, food grade, food additive Please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC), FCC, Thailand
|
|
|
2
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / Stevia Extract, Rebaudioside A, Steviol Glycoside, Stevioside, Stevia Sugar, สตี
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 26, 2025, 07:35:28 pm
|
Stevia Extract, Rebaudioside A, Steviol Glycoside, Stevioside, Stevia Sugar, Thailand Stevia More information of stevia extract, food additive, food grade, please contact Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: +6634 854888 Mobile: +668 93128888 Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888@gmail.comWeb: www.thaipolychemicals.comProduct description of Stevia. What is Stevia? Plant-based 100% natural sweetener extracted from leaves of stevia rebaudiana Zero calorie sugar substitute Potency of 200-400x the sweetness of sugar Approved by regulatory bodies and food safety experts worldwide and in all major markets including US, Europe, Canada, Australia/New Zealand, China, Japan, Korea, and many more Enjoyed by 5 billion people around b the world in their food and beverages  The History of Stevia Grown for centuries in Paraguay, the stevia rebaudiana plant has been used by many generations of indigenous South Americans as a natural sweetener for teas and medicines. Its taste was so powerful that some would even enjoy chewing on the plant’s leaves as nature’s sweet treat. It wasn’t until the 19th and 20th centuries though that scientists would discover and study these leaves, where they isolated and identified the sweet tasting chemical components as steviol glycosides. These compounds are the secret to stevia’s sweet magic, boasting a potency of 200-400x the sweetness of sugar. The stevia plant contains an abundant variety of these glycosides, each with their own sweetness and taste profile. Today, stevia enhances the taste of food and beverage products enjoyed by 5 billion people around the globe. And centuries later, laboratories everywhere are still perfecting the science of extracting, refining and purifying steviol glycosides.  Zero Calories. Limitless Potential. Not only does stevia have a far higher sweetness potency than sugar, it also has none of sugar’s calories. The potential health benefits of lower caloric intake and reduced glycemic impact on blood sugar make stevia-based sweeteners an ideal sugar substitute for people with diabetes, children, and many others seeking healthier diets and lifestyles. Stevia’s natural sweetness and potential health benefits are just some of the reasons its commercial use by food and beverage manufacturers has exploded worldwide 100% all natural, non-artificial sweetener Pure and highly potent sweet taste Zero calories and zero glycemic index for healthier ingredients and healthier products Non-cariogenic and dental-friendly Versatility as a total or partial replacement for caloric sugars Flavor enhancer in use with other sweetener ingredients Heat stability up to about 390 F and can be used in cooking and baking as well as other high temperature processing and packaging conditions Extremely stable to low pH food, beverage processes and finished products systems Excellent solubility in aqueous systems Regulatory Approval and Safety Commercial use of stevia as a food and beverage sweetener first started in the 1970s in Japan. It wasn’t until more recent years that the adoption of stevia has surged in popularity around the world, after hundreds of long-term scientific studies confirmed that steviol glycosides are safe for human consumption. These safety conclusions paved the way for the Food and Agriculture Organization and the World Health Organization’s Joint Expert Committee on Food Additives (JECFA), a global panel of food ingredient safety experts, to approve the use of stevia in 2008 and 2009. In the US, the Food & Drug Administration (FDA) granted Generally Recognized As Safe (GRAS) status to high purity stevia extract in 2008. The same year, Food Standards Australia New Zealand (FSANZ) approved stevia as a food additive. The European Food Safety Authority (EFSA) also followed suit when they authorized the use of stevia in 2011. More information of Stevia extract powder, please contact Thai Poly Chemicals Company (Sweetener Division)  Sweetener list that supplied by Thai Poly Chemicals Company (Food Additive Division) Acesulfame K, ACK, อะซีซัลเฟมเค, เอซีเค Acesulfame Potassium, อะซีซัลเฟมโพแทสเซียม Artificial Sweeteners, สารทดแทนน้ำตาล Aspartame, แอสปาร์แตม, แอสพาร์แตม Dextrose Anhydrous, เด็กซ์โตรสแอนไฮดรัส Dextrose Monohydrate, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป D-Xylose, ดีไซโลส Erythritol, อิริทริทอล, น้ำตาลอิริท Ethyl Maltol, เอทิลมัลทอล Ethyl Vanillin, เอทิลวานิลิน Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ฟรักโทสผง Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, แบะแซ Glycerine, กลีเซอรีน, กลีเซอรีนบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรีน Glycerol, กลีเซอรอล, กลีเซอรอลบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรอล Hydrogenated Maltose Syrup, ไฮโดรจีเนตมอลโตส Icing Sugar, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายผง Inulin, Chicory Inulin, อินูลิน, อินนูลิน Isomalt, ไอโซมอลท์, ไอโซมอลต์ Lactitol Monohydrate, แลคติทอล โมโนไฮเดรต Luo Han Guo Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Maltitol, มอลทิทอล, มอลติตอล, มัลทิทอล Maltitol Powder, มอลทิทอลผง, ผงมอลทิทอล Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลทิทอล, มอลทิทอลไซรัป Maltodextrin, มอลโทเด็กซ์ทริน, มอลโตเด็กซ์ตริน Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป Mannitol, แมนนิทอล, มันนิทอล Mogroside V, โมโกรไซด์, โมโกรไซด์วี Monk Fruit Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Mycose, ไมโคส, น้ำตาลถนอมอาหาร Neotame, นีโอแตม, นีโอเตม Rebaudioside A, รีเบาดิโอไซด์เอ, สารสกัดจากหญ้าหวาน Sodium Cyclamate, โซเดียมไซคลาเมต, แป้งหวาน Sodium Saccharin, โซเดียมแซคคาริน, ขัณฑสกร, ดีน้ำตาล Sorbitol, ซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป Specialty Sweetener, สารเพิ่มความหวานชนิดพิเศษ Stevia, หญ้าหวาน, สตีเวีย, รีเบาดิโอไซด์เอ Stevia Extract, สารสกัดหญ้าหวาน, สตีวิออลไกลโคไซด์ Stevia Sugar, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย Sucralose, ซูคราโลส, ซูคาร์โลส Sugar, น้ำตาลทราย, น้ำตาลทรายบริสุทธิ์ Sugar Substitutes, สารให้ความหวานแทนน้ำตาล Trehalose, ทรีฮาโลส, ตรีฮาโลส Tremalose, ทรีมาโลส, ตรีมาโลส Vanillin Powder, วานิลิน, วะนิลิน Xylitol, ไซลิทอล, ไซลิตอล, น้ำตาลเทียม More information of sweetener, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC) Chemical, Food Grade, Food Additive, FCC, Pharmaceutical Grade, USP, EP, JP Please Contact Thai Poly Chemicals Company, Poly Chemicals For A Better Life 
|
|
|
3
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / สารสกัดจากหญ้าหวาน สารให้ความหวานแทนน้ำตาล Stevia Extract ทางเลือกใหม่เพื่อสุขภา
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 15, 2025, 11:20:07 am
|
สารสกัดจากหญ้าหวาน สารให้ความหวานแทนน้ำตาล Stevia Extract ทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพ สารสกัดจากหญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานจากธรรมชาติ Natural Sweetener สารสกัดจากหญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล Sugar Substitute สารสกัดจากหญ้าหวาน มีความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า สารสกัดจากหญ้าหวาน ไม่มีแคลอรี ไม่ให้พลังงาน ลดการสะสมน้ำตาลในร่างกาย หญ้าหวาน, สารสกัดหญ้าหวาน, สารสกัดจากหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน, สตีเวีย ผลิตหญ้าหวาน, นำเข้าหญ้าหวาน, จำหน่ายหญ้าหวาน, ส่งออกหญ้าหวาน, STEVIA สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034854888 Mobile: 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888@gmail.comWeb: www.thaipolychemicals.com ข้อมูลผลิตภัณฑ์ สารสกัดจากหญ้าหวาน น้ำตาลสตีเวีย (Stevia Extract) ถึงแม้ว่าจะมีสารทดแทนความหวานที่ไม่ให้พลังงาน เช่น แอสปาร์แตม ซูคราโลส และอื่นๆ จะเป็นทางเลือกที่ถูกนำมาใช้ทดแทนน้ำตาล แต่การที่สารเหล่านี้ผลิตจากการสังเคราะห์ทางเคมี ซึ่งแตกต่างจากหญ้าหวานที่เป็นพืชตามธรรมชาติ สารสกัดจากใบหญ้าหวาน มีชื่อเรียกว่า สตีวิโอไซด์ (Stevioside) จึงมีความน่าสนใจมากขึ้น โดยลักษณะของสตีวิโอไซด์ เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า ซึ่งรสหวานของสารสตีวิโอไซด์ จะจางหายไปช้ากว่าน้ำตาลทราย แต่จะมีรสหวานติดลิ้นนานกว่า โดยสารที่ว่านี้ จะไม่ถูกย่อยให้เกิดพลังงานในร่างกาย มีแคลอรี่ต่ำมาก จึงมีความปลอดภัยสูง และมีการยอมรับให้ใช้เป็นสารให้ความหวานได้ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 262 พุทธศักราช 2545 โดยปัจจุบันนี้พบว่า สารให้ความหวานที่สกัดจากหญ้าหวาน กำลังเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก หญ้าหวาน สารให้ความหวานจากธรรมชาติ เป็นที่ทราบกันดีว่า หากบริโภคน้ำตาลในปริมาณที่มากเกินจำเป็น สามารถสะสมทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น และนำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้มากมาย หลายคนจึงเริ่มหันมาสนใจ วัตถุดิบกลุ่มหนึ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำตาลได้ และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ นั่นคือ สารให้ความหวานแทนน้ำตาล (Artificial sweeteners) ซึ่งสารให้ความหวานแทนน้ำตาลนี้ ก็มีอยู่หลายชนิด แต่ที่กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ก็คือ หญ้าหวาน ที่เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล จากธรรมชาติ และถูกนำมาเป็นส่วนประกอบของอาหารคาว ขนมหวาน และเครื่องดื่มอยู่มากมายในปัจจุบัน หญ้าหวาน คืออะไร หญ้าหวาน เป็นพืชชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางอเมริกาใต้ สามารถให้ความหวานได้โดยธรรมชาติ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia Rebaudiana Bertoni หรือเรียกสั้นๆว่า Stevia เมื่อนำใบหญ้าหวานแห้งมาสกัด จะได้สารสกัดบริสุทธิ์ ชื่อว่า สตีวิออลไกลโคไซด์ (Steviol glycosides) ซึ่งมีความคงตัวสูงในตัวทำละลาย กรดอ่อน เบสอ่อน ทนความร้อนได้ถึง 200 องศาเซลเซียส และหวานกว่าน้ำตาลทราย 200-400 เท่า โดยที่ไม่มีคาร์โบไฮเดรตและไม่ให้พลังงาน ทั้งนี้สารสกัดจากใบหญ้าหวานที่ได้รับการยอมรับ จากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (The Joint Food and Agriculture Organization / World Health Organization (WHO) Expert Committee on Food Additives, JECFA) ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้ จะต้องมีปริมาณสารในกลุ่มสตีวิออลไกลโคไซด์ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95 ของน้ำหนักแห้ง ดังนั้นจึงไม่แนะนำให้นำใบสด ใบอบแห้ง หรือผงสารสกัดจากใบหญ้าหวาน ที่ไม่ได้บอกปริมาณความเข้มข้น มาใช้ทำอาหารและเครื่องดื่ม  หญ้าหวาน ใช้แล้วปลอดภัยไหม อ้างอิงจากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การ อาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (The Acceptable Daily Intake, ADI) ของสารสกัดจากหญ้าหวาน (Steviol glycosides) ไว้ที่ 4 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ในรูปของ Steviol Equivalents หมายความว่า หากเราน้ำหนัก 50 กิโลกรัม เราจะสามารถรับสารสกัดจากหญ้าหวานได้ไม่เกิน 200 มิลลิกรัม/วัน แต่ในผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานแทนน้ำตาลตามท้องตลาด มีส่วนผสมของสารสกัดจากหญ้าหวาน(Steviol glycosides) เพียงเล็กน้อยเท่านั้นหรือประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาตรทั้งหมด เนื่องจากสารสกัดนั้นให้ความหวานที่มากกว่า น้ำตาลหลายร้อยเท่า เช่น ในน้ำเก็กฮวยยี่ห้อหนึ่ง มีหญ้าหวานประมาณ 0.03 % ใน 500 ml คิดเป็น 15 mg ต่อกล่อง นั่นหมายความว่า อาจจะต้องกินดื่มน้ำเก็กฮวย มากถึง 13 กล่องต่อวัน จึงจะได้รับหญ้าหวาน เกินปริมาณที่กำหนด ดังนั้นเมื่อนำมาใช้กับอาหารและเครื่องดื่มแทนน้ำตาลเพียงเล็กน้อย ก็ให้ความหวานเทียบเท่ากับน้ำตาลแล้ว ทำให้เราหมดความกังวลเรื่องที่จะได้รับสารสกัดเกินปริมาณที่กำหนด รวมถึงในปี ค.ศ. 2009 คณะกรรมการอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USFDA) ได้ออกประกาศว่า หญ้าหวานได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าปลอดภัย (Generally Recognized As Safe, GRAS) และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ประกาศให้สารสกัดสติวิออลไกลโคไซด์ เป็นวัตถุเจือปนอาหาร อีกด้วย ส่วนการศึกษาเกี่ยวกับการสะสมของสารสกัดจากหญ้าหวานจนเพิ่มความเสี่ยงการเกิดมะเร็งนั้น ก็ยังไม่พบว่า การใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาลจะทำให้เกิดมะเร็งได้ แต่อย่างไรก็ตาม การบริโภคสารสกัดจากหญ้าหวาน ก็ยังต้องระวังในคนที่แพ้พืชตระกูลเดียวกับหญ้าหวาน เช่น ดอกเบญจมาศ ดอกดาวเรือง เนื่องจากมีความเสี่ยงอาจแพ้หญ้าหวาน ด้วยเช่นเดียวกัน รวมถึงยังไม่มีงานวิจัยที่ยืนยันว่า สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร สามารถกินสารสกัดจากหญ้าหวานได้ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการบริโภคสารให้ความหวานแทนน้ำตาลไปก่อน และไปเลือกควบคุมปริมาณอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงแทน ประโยชน์ของ สารสกัดหญ้าหวาน แน่นอนว่าประโยชน์ของหญ้าหวานที่ทุกคนรู้กันก็คือ การใช้เป็นวัตถุดิบให้ความหวานแทนน้ำตาล ในอาหารและเครื่องดื่ม โดยที่ไม่ให้พลังงาน และไม่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น ที่สารสกัดจากหญ้าหวานให้ผลเช่นนี้ เนื่องจากกระบวนการย่อยและดูดซึมของสารสกัดหญ้าหวาน ไม่ผ่านระบบย่อยอาหารส่วนต้น แต่จะเริ่มย่อยที่ลำไส้ใหญ่โดยแบคทีเรียในลำไส้ หลังจากนั้นถูกลำเลียงไปเผาผลาญที่ตับ จนสุดท้ายถูกขับออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะเป็นหลัก ไม่ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด ดังนั้นสารสกัดจากหญ้าหวาน จึงถูกนำมาใช้แทนน้ำตาล เพื่อเป็นตัวช่วยสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก โดยการลดพลังงานที่ได้รับจากน้ำตาลของอาหาร และเครื่องดื่ม นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงประโยชน์ของสารสกัดจากหญ้าหวานในด้านอื่น ๆ เช่น มีสารต้านอนุมูลอิสระ ที่ช่วยลดความเสื่อมของเซลล์ร่างกาย นำไปสู่การลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ แต่ทั้งนี้ก็อาจมีปัจจัยเกี่ยวกับการที่ใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาล ทำให้พลังงานต่อวันลดลงจนมีน้ำหนักตัวลดลงตามมา ซึ่งอย่างที่ทราบกันว่า ความอ้วน ก็เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็งได้ ดังนั้นในการใช้สารสกัดจากหญ้าหวานช่วยลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ จึงต้องมีการศึกษาต่อไปอย่างต่อเนื่อง กล่าวโดยสรุปคือ หญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลจากธรรมชาติ ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้อย่างปลอดภัย เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการดูแลสุขภาพ แต่ทั้งนี้การดูแลสุขภาพที่ดีอย่างแท้จริง คือ การปรับพฤติกรรมของตัวเราเอง โดยลดอาหารหวาน มัน เค็ม หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีพลังงานสูง มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความสมดุลของพลังงานต่อวัน ไม่ให้สะสมจนเกิดโรคได้ และอาจมีการใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นตัวช่วยเล็กน้อย จะดีกว่าการเลือกใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นหลัก แต่ไม่ได้มีการปรับพฤติกรรมอะไรเลย เพราะนั่นอาจจะเป็นการดูแลสุขภาพที่ไม่ยั่งยืนก็เป็นได้  นอกจาก สารสกัดจากหญ้าหวานแล้ว บริษัท ยังเป็นผู้จัดจำหน่าย สารให้ความหวาน อีกหลายรายการ สินค้าในกลุ่ม สวีทเทนเนอร์ SWEETENER ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ Acesulfame K, ACK, อะซีซัลเฟมเค, เอซีเค Acesulfame Potassium, อะซีซัลเฟมโพแทสเซียม Artificial Sweeteners, สารทดแทนน้ำตาล Aspartame, แอสปาร์แตม, แอสพาร์แตม Dextrose Anhydrous, เด็กซ์โตรสแอนไฮดรัส Dextrose Monohydrate, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป D-Xylose, ดีไซโลส Erythritol, อิริทริทอล, น้ำตาลอิริท Ethyl Maltol, เอทิลมัลทอล Ethyl Vanillin, เอทิลวานิลิน Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ฟรักโทสผง Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, แบะแซ Glycerine, กลีเซอรีน, กลีเซอรีนบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรีน Glycerol, กลีเซอรอล, กลีเซอรอลบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรอล Hydrogenated Maltose Syrup, ไฮโดรจีเนตมอลโตส Icing Sugar, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายผง Inulin, Chicory Inulin, อินูลิน, อินนูลิน Isomalt, ไอโซมอลท์, ไอโซมอลต์ Lactitol Monohydrate, แลคติทอล โมโนไฮเดรต Luo Han Guo Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Maltitol, มอลทิทอล, มอลติตอล, มัลทิทอล Maltitol Powder, มอลทิทอลผง, ผงมอลทิทอล Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลทิทอล, มอลทิทอลไซรัป Maltodextrin, มอลโทเด็กซ์ทริน, มอลโตเด็กซ์ตริน Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป Mannitol, แมนนิทอล, มันนิทอล Mogroside V, โมโกรไซด์, โมโกรไซด์วี Monk Fruit Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Mycose, ไมโคส, น้ำตาลถนอมอาหาร Neotame, นีโอแตม, นีโอเตม Rebaudioside A, รีเบาดิโอไซด์เอ, สารสกัดจากหญ้าหวาน Sodium Cyclamate, โซเดียมไซคลาเมต, แป้งหวาน Sodium Saccharin, โซเดียมแซคคาริน, ขัณฑสกร, ดีน้ำตาล Sorbitol, ซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป Specialty Sweetener, สารเพิ่มความหวานชนิดพิเศษ Stevia, หญ้าหวาน, สตีเวีย, รีเบาดิโอไซด์เอ Stevia Extract, สารสกัดหญ้าหวาน, สตีวิออลไกลโคไซด์ Stevia Sugar, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย Sucralose, ซูคราโลส, ซูคาร์โลส Sugar, น้ำตาลทราย, น้ำตาลทรายบริสุทธิ์ Sugar Substitutes, สารให้ความหวานแทนน้ำตาล Trehalose, ทรีฮาโลส, ตรีฮาโลส Tremalose, ทรีมาโลส, ตรีมาโลส Vanillin Powder, วานิลิน, วะนิลิน Xylitol, ไซลิทอล, ไซลิตอล, น้ำตาลเทียม ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สวีทเทนเนอร์ สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล เคมีภัณฑ์ เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, เคมีภัณฑ์ เกรดยา, เกรดยูเอสพี, เกรดอีพี, เกรดเจพี สอบถามข้อมูลได้ที่ บจก. ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต  วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภค ที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) | สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) | สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) | สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) | สารฟอกสี (Bleaching Agent) | สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) | สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) | สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) | สี (Color) | สารคงสภาพของสี (Color Retention Agent) | อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) | เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) | สารทำให้แน่น (Firming Agent) | สารเพิ่มรสชาติ (Flavor Enhancer) | สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) | สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) | สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) | สารเคลือบผิว (Glazing Agent) | สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) | ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) | สารกันเสีย (Preservative) | ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) | สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) | สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) | สารทำให้คงตัว (Stabilizer) | สารให้ความหวาน (Sweetener) | สารให้ความข้นเหนียว (Thickener) More information of sweetener, food additive, food grade chemical Food Chemical Codex, FCC, EP, USP, JP, please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) Food Additive Tel +6634 854888, +668 9312 8888 Official Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888 (at) gmail.com
|
|
|
4
|
พูดคุยทั่วไป / พูดคุยทั่วไป / หญ้าหวาน, สตีเวีย, สารสกัดหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน, Stevia Extract, Stevia Sugar
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2025, 04:53:26 pm
|
หญ้าหวาน, สตีเวีย, สารสกัดหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน, Stevia Extract, Stevia Sugar, Rebaudioside A สารสกัดจากหญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานจากธรรมชาติ Natural Sweetener สารสกัดจากหญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล Sugar Substitute สารสกัดจากหญ้าหวาน มีความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า สารสกัดจากหญ้าหวาน ไม่มีแคลอรี ไม่ให้พลังงาน จึงเป็นทางเลือกใหม่ที่น่าสนใจเพื่อสุขภาพ หญ้าหวาน, สารสกัดหญ้าหวาน, สารสกัดจากหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน, สตีเวีย ผลิตหญ้าหวาน, นำเข้าหญ้าหวาน, จำหน่ายหญ้าหวาน, ส่งออกหญ้าหวาน, STEVIA สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034854888 Mobile: 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888@gmail.comWeb: www.thaipolychemicals.com ข้อมูลผลิตภัณฑ์ สารสกัดจากหญ้าหวาน น้ำตาลสตีเวีย (Stevia Extract) ถึงแม้ว่าจะมีสารทดแทนความหวานที่ไม่ให้พลังงาน เช่น แอสปาร์แตม ซูคราโลส และอื่นๆ จะเป็นทางเลือกที่ถูกนำมาใช้ทดแทนน้ำตาล แต่การที่สารเหล่านี้ผลิตจากการสังเคราะห์ทางเคมี ซึ่งแตกต่างจากหญ้าหวานที่เป็นพืชตามธรรมชาติ สารสกัดจากใบหญ้าหวาน มีชื่อเรียกว่า สตีวิโอไซด์ (Stevioside) จึงมีความน่าสนใจมากขึ้น โดยลักษณะของสตีวิโอไซด์ เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า ซึ่งรสหวานของสารสตีวิโอไซด์ จะจางหายไปช้ากว่าน้ำตาลทราย แต่จะมีรสหวานติดลิ้นนานกว่า โดยสารที่ว่านี้ จะไม่ถูกย่อยให้เกิดพลังงานในร่างกาย มีแคลอรี่ต่ำมาก จึงมีความปลอดภัยสูง และมีการยอมรับให้ใช้เป็นสารให้ความหวานได้ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 262 พุทธศักราช 2545 โดยปัจจุบันนี้พบว่า สารให้ความหวานที่สกัดจากหญ้าหวาน กำลังเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก หญ้าหวาน สารให้ความหวานจากธรรมชาติ เป็นที่ทราบกันดีว่า หากบริโภคน้ำตาลในปริมาณที่มากเกินจำเป็น สามารถสะสมทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น และนำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้มากมาย หลายคนจึงเริ่มหันมาสนใจ วัตถุดิบกลุ่มหนึ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำตาลได้ และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ นั่นคือ สารให้ความหวานแทนน้ำตาล (Artificial sweeteners) ซึ่งสารให้ความหวานแทนน้ำตาลนี้ ก็มีอยู่หลายชนิด แต่ที่กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ก็คือ หญ้าหวาน ที่เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล จากธรรมชาติ และถูกนำมาเป็นส่วนประกอบของอาหารคาว ขนมหวาน และเครื่องดื่มอยู่มากมายในปัจจุบัน หญ้าหวาน คืออะไร หญ้าหวาน เป็นพืชชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางอเมริกาใต้ สามารถให้ความหวานได้โดยธรรมชาติ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia Rebaudiana Bertoni หรือเรียกสั้นๆว่า Stevia เมื่อนำใบหญ้าหวานแห้งมาสกัด จะได้สารสกัดบริสุทธิ์ ชื่อว่า สตีวิออลไกลโคไซด์ (Steviol glycosides) ซึ่งมีความคงตัวสูงในตัวทำละลาย กรดอ่อน เบสอ่อน ทนความร้อนได้ถึง 200 องศาเซลเซียส และหวานกว่าน้ำตาลทราย 200-400 เท่า โดยที่ไม่มีคาร์โบไฮเดรตและไม่ให้พลังงาน ทั้งนี้สารสกัดจากใบหญ้าหวานที่ได้รับการยอมรับ จากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (The Joint Food and Agriculture Organization / World Health Organization (WHO) Expert Committee on Food Additives, JECFA) ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้ จะต้องมีปริมาณสารในกลุ่มสตีวิออลไกลโคไซด์ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95 ของน้ำหนักแห้ง ดังนั้นจึงไม่แนะนำให้นำใบสด ใบอบแห้ง หรือผงสารสกัดจากใบหญ้าหวาน ที่ไม่ได้บอกปริมาณความเข้มข้น มาใช้ทำอาหารและเครื่องดื่ม หญ้าหวาน ใช้แล้วปลอดภัยไหม อ้างอิงจากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การ อาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (The Acceptable Daily Intake, ADI) ของสารสกัดจากหญ้าหวาน (Steviol glycosides) ไว้ที่ 4 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ในรูปของ Steviol Equivalents หมายความว่า หากเราน้ำหนัก 50 กิโลกรัม เราจะสามารถรับสารสกัดจากหญ้าหวานได้ไม่เกิน 200 มิลลิกรัม/วัน แต่ในผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานแทนน้ำตาลตามท้องตลาด มีส่วนผสมของสารสกัดจากหญ้าหวาน(Steviol glycosides) เพียงเล็กน้อยเท่านั้นหรือประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาตรทั้งหมด เนื่องจากสารสกัดนั้นให้ความหวานที่มากกว่า น้ำตาลหลายร้อยเท่า เช่น ในน้ำเก็กฮวยยี่ห้อหนึ่ง มีหญ้าหวานประมาณ 0.03 % ใน 500 ml คิดเป็น 15 mg ต่อกล่อง นั่นหมายความว่า อาจจะต้องกินดื่มน้ำเก็กฮวย มากถึง 13 กล่องต่อวัน จึงจะได้รับหญ้าหวาน เกินปริมาณที่กำหนด ดังนั้นเมื่อนำมาใช้กับอาหารและเครื่องดื่มแทนน้ำตาลเพียงเล็กน้อย ก็ให้ความหวานเทียบเท่ากับน้ำตาลแล้ว ทำให้เราหมดความกังวลเรื่องที่จะได้รับสารสกัดเกินปริมาณที่กำหนด รวมถึงในปี ค.ศ. 2009 คณะกรรมการอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USFDA) ได้ออกประกาศว่า หญ้าหวานได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าปลอดภัย (Generally Recognized As Safe, GRAS) และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ประกาศให้สารสกัดสติวิออลไกลโคไซด์ เป็นวัตถุเจือปนอาหาร อีกด้วย ส่วนการศึกษาเกี่ยวกับการสะสมของสารสกัดจากหญ้าหวานจนเพิ่มความเสี่ยงการเกิดมะเร็งนั้น ก็ยังไม่พบว่า การใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาลจะทำให้เกิดมะเร็งได้ แต่อย่างไรก็ตาม การบริโภคสารสกัดจากหญ้าหวาน ก็ยังต้องระวังในคนที่แพ้พืชตระกูลเดียวกับหญ้าหวาน เช่น ดอกเบญจมาศ ดอกดาวเรือง เนื่องจากมีความเสี่ยงอาจแพ้หญ้าหวาน ด้วยเช่นเดียวกัน รวมถึงยังไม่มีงานวิจัยที่ยืนยันว่า สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร สามารถกินสารสกัดจากหญ้าหวานได้ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการบริโภคสารให้ความหวานแทนน้ำตาลไปก่อน และไปเลือกควบคุมปริมาณอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงแทน ประโยชน์ของ สารสกัดหญ้าหวาน แน่นอนว่าประโยชน์ของหญ้าหวานที่ทุกคนรู้กันก็คือ การใช้เป็นวัตถุดิบให้ความหวานแทนน้ำตาล ในอาหารและเครื่องดื่ม โดยที่ไม่ให้พลังงาน และไม่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น ที่สารสกัดจากหญ้าหวานให้ผลเช่นนี้ เนื่องจากกระบวนการย่อยและดูดซึมของสารสกัดหญ้าหวาน ไม่ผ่านระบบย่อยอาหารส่วนต้น แต่จะเริ่มย่อยที่ลำไส้ใหญ่โดยแบคทีเรียในลำไส้ หลังจากนั้นถูกลำเลียงไปเผาผลาญที่ตับ จนสุดท้ายถูกขับออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะเป็นหลัก ไม่ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด ดังนั้นสารสกัดจากหญ้าหวาน จึงถูกนำมาใช้แทนน้ำตาล เพื่อเป็นตัวช่วยสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก โดยการลดพลังงานที่ได้รับจากน้ำตาลของอาหาร และเครื่องดื่ม นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงประโยชน์ของสารสกัดจากหญ้าหวานในด้านอื่น ๆ เช่น มีสารต้านอนุมูลอิสระ ที่ช่วยลดความเสื่อมของเซลล์ร่างกาย นำไปสู่การลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ แต่ทั้งนี้ก็อาจมีปัจจัยเกี่ยวกับการที่ใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาล ทำให้พลังงานต่อวันลดลงจนมีน้ำหนักตัวลดลงตามมา ซึ่งอย่างที่ทราบกันว่า ความอ้วน ก็เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็งได้ ดังนั้นในการใช้สารสกัดจากหญ้าหวานช่วยลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ จึงต้องมีการศึกษาต่อไปอย่างต่อเนื่อง กล่าวโดยสรุปคือ หญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลจากธรรมชาติ ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้อย่างปลอดภัย เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการดูแลสุขภาพ แต่ทั้งนี้การดูแลสุขภาพที่ดีอย่างแท้จริง คือ การปรับพฤติกรรมของตัวเราเอง โดยลดอาหารหวาน มัน เค็ม หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีพลังงานสูง มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความสมดุลของพลังงานต่อวัน ไม่ให้สะสมจนเกิดโรคได้ และอาจมีการใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นตัวช่วยเล็กน้อย จะดีกว่าการเลือกใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นหลัก แต่ไม่ได้มีการปรับพฤติกรรมอะไรเลย เพราะนั่นอาจจะเป็นการดูแลสุขภาพที่ไม่ยั่งยืนก็เป็นได้  Product description of Stevia. What is Stevia? Plant-based 100% natural sweetener extracted from leaves of stevia rebaudiana Zero calorie sugar substitute Potency of 200-400x the sweetness of sugar Approved by regulatory bodies and food safety experts worldwide and in all major markets including US, Europe, Canada, Australia/New Zealand, China, Japan, Korea, and many more Enjoyed by 5 billion people around b the world in their food and beverages The History of Stevia Grown for centuries in Paraguay, the stevia rebaudiana plant has been used by many generations of indigenous South Americans as a natural sweetener for teas and medicines. Its taste was so powerful that some would even enjoy chewing on the plant’s leaves as nature’s sweet treat. It wasn’t until the 19th and 20th centuries though that scientists would discover and study these leaves, where they isolated and identified the sweet tasting chemical components as steviol glycosides. These compounds are the secret to stevia’s sweet magic, boasting a potency of 200-400x the sweetness of sugar. The stevia plant contains an abundant variety of these glycosides, each with their own sweetness and taste profile. Today, stevia enhances the taste of food and beverage products enjoyed by 5 billion people around the globe. And centuries later, laboratories everywhere are still perfecting the science of extracting, refining and purifying steviol glycosides. Zero Calories. Limitless Potential. Not only does stevia have a far higher sweetness potency than sugar, it also has none of sugar’s calories. The potential health benefits of lower caloric intake and reduced glycemic impact on blood sugar make stevia-based sweeteners an ideal sugar substitute for people with diabetes, children, and many others seeking healthier diets and lifestyles. Stevia’s natural sweetness and potential health benefits are just some of the reasons its commercial use by food and beverage manufacturers has exploded worldwide 100% all natural, non-artificial sweetener Pure and highly potent sweet taste Zero calories and zero glycemic index for healthier ingredients and healthier products Non-cariogenic and dental-friendly Versatility as a total or partial replacement for caloric sugars Flavor enhancer in use with other sweetener ingredients Heat stability up to about 390 F and can be used in cooking and baking as well as other high temperature processing and packaging conditions Extremely stable to low pH food, beverage processes and finished products systems Excellent solubility in aqueous systems Regulatory Approval and Safety Commercial use of stevia as a food and beverage sweetener first started in the 1970s in Japan. It wasn’t until more recent years that the adoption of stevia has surged in popularity around the world, after hundreds of long-term scientific studies confirmed that steviol glycosides are safe for human consumption. These safety conclusions paved the way for the Food and Agriculture Organization and the World Health Organization’s Joint Expert Committee on Food Additives (JECFA), a global panel of food ingredient safety experts, to approve the use of stevia in 2008 and 2009. In the US, the Food & Drug Administration (FDA) granted Generally Recognized As Safe (GRAS) status to high purity stevia extract in 2008. The same year, Food Standards Australia New Zealand (FSANZ) approved stevia as a food additive. The European Food Safety Authority (EFSA) also followed suit when they authorized the use of stevia in 2011. More information of Stevia extract powder, please contact Thai Poly Chemicals Company (Sweetener Division) นอกจาก สารสกัดจากหญ้าหวานแล้ว บริษัท ยังเป็นผู้จัดจำหน่าย สารให้ความหวาน อีกหลายรายการ สินค้าในกลุ่ม สวีทเทนเนอร์ SWEETENER ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ Acesulfame K, ACK, อะซีซัลเฟมเค, เอซีเค Acesulfame Potassium, อะซีซัลเฟมโพแทสเซียม Artificial Sweeteners, สารทดแทนน้ำตาล Aspartame, แอสปาร์แตม, แอสพาร์แตม Dextrose Anhydrous, เด็กซ์โตรสแอนไฮดรัส Dextrose Monohydrate, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป D-Xylose, ดีไซโลส Erythritol, อิริทริทอล, น้ำตาลอิริท Ethyl Maltol, เอทิลมัลทอล Ethyl Vanillin, เอทิลวานิลิน Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ฟรักโทสผง Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, แบะแซ Glycerine, กลีเซอรีน, กลีเซอรีนบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรีน Glycerol, กลีเซอรอล, กลีเซอรอลบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรอล Hydrogenated Maltose Syrup, ไฮโดรจีเนตมอลโตส Icing Sugar, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายผง Inulin, Chicory Inulin, อินูลิน, อินนูลิน Isomalt, ไอโซมอลท์, ไอโซมอลต์ Lactitol Monohydrate, แลคติทอล โมโนไฮเดรต Luo Han Guo Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Maltitol, มอลทิทอล, มอลติตอล, มัลทิทอล Maltitol Powder, มอลทิทอลผง, ผงมอลทิทอล Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลทิทอล, มอลทิทอลไซรัป Maltodextrin, มอลโทเด็กซ์ทริน, มอลโตเด็กซ์ตริน Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป Mannitol, แมนนิทอล, มันนิทอล Mogroside V, โมโกรไซด์, โมโกรไซด์วี Monk Fruit Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย Mycose, ไมโคส, น้ำตาลถนอมอาหาร Neotame, นีโอแตม, นีโอเตม Rebaudioside A, รีเบาดิโอไซด์เอ, สารสกัดจากหญ้าหวาน Sodium Cyclamate, โซเดียมไซคลาเมต, แป้งหวาน Sodium Saccharin, โซเดียมแซคคาริน, ขัณฑสกร, ดีน้ำตาล Sorbitol, ซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป Specialty Sweetener, สารเพิ่มความหวานชนิดพิเศษ Stevia, หญ้าหวาน, สตีเวีย, รีเบาดิโอไซด์เอ Stevia Extract, สารสกัดหญ้าหวาน, สตีวิออลไกลโคไซด์ Stevia Sugar, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย Sucralose, ซูคราโลส, ซูคาร์โลส Sugar, น้ำตาลทราย, น้ำตาลทรายบริสุทธิ์ Sugar Substitutes, สารให้ความหวานแทนน้ำตาล Trehalose, ทรีฮาโลส, ตรีฮาโลส Tremalose, ทรีมาโลส, ตรีมาโลส Vanillin Powder, วานิลิน, วะนิลิน Xylitol, ไซลิทอล, ไซลิตอล, น้ำตาลเทียม ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สวีทเทนเนอร์ สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล More information of sweetener, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC) เคมีภัณฑ์ เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, เคมีภัณฑ์ เกรดยา, เกรดยูเอสพี, เกรดอีพี, เกรดเจพี สอบถามข้อมูลได้ที่ บจก. ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต Chemical, Food Grade, Food Additive, FCC, Pharmaceutical Grade, USP, EP, JP Please Contact Thai Poly Chemicals Company, Poly Chemicals For A Better Life วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภค ที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) | สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) | สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) | สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) | สารฟอกสี (Bleaching Agent) | สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) | สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) | สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) | สี (Color) | สารคงสภาพของสี (Color Retention Agent) | อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) | เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) | สารทำให้แน่น (Firming Agent) | สารเพิ่มรสชาติ (Flavor Enhancer) | สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) | สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) | สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) | สารเคลือบผิว (Glazing Agent) | สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) | ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) | สารกันเสีย (Preservative) | ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) | สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) | สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) | สารทำให้คงตัว (Stabilizer) | สารให้ความหวาน (Sweetener) | สารให้ความข้นเหนียว (Thickener) More information of sweetener, food additive, food grade chemical Food Chemical Codex, FCC, EP, USP, JP, please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) Food Additive Tel +6634 854888, +668 9312 8888 Official Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888 (at) gmail.com
|
|
|
5
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / แคลเซียมคาร์บอเนต, แคลเซียมผง, แป้งแคลเซียม, แคลไซต์, Calcium Carbonate, Calcite
|
เมื่อ: มกราคม 18, 2025, 03:53:14 pm
|
แคลเซียมคาร์บอเนต, แคลเซียมผง, แป้งแคลเซียม, แคลไซต์, Calcium Carbonate, Calcite, CaCO3 เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, Food Grade, Food Additive, E170, FCC สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034854888 Mobile: 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888@gmail.comWeb: www.thaipolychemicals.comแคลเซียมคาร์บอเนต เกรดอาหาร, Calcium Carbonate Food Grade, E170 แคลเซียมคาร์บอเนต วัตถุเจือปนอาหาร, Calcium Carbonate Food Additive, INS170 แคลเซียมคาร์บอเนต เกรดยา, Calcium Carbonate USP, Pharmaceutical Grade  Why is Calcium Carbonate used in food? Introduction: Calcium Carbonate (CaCO3), a versatile compound derived from natural sources, plays a vital role in the food industry. As reputable Calcium Carbonate powder suppliers, Thai Poly Chemicals Company (TPCC) recognizes the significance of this compound in enhancing the quality and nutritional value of various food products. In this blog post, we will discover the reasons why Calcium Carbonate is widely used in the food industry and explore its benefits. Nutritional Supplement Calcium Carbonate is primarily used in the food industry as a nutritional supplement. It is an excellent source of Calcium, an essential mineral required for healthy bone development, muscle function, nerve transmission, and blood clotting. By incorporating this mineral into food products, manufacturers can enhance their nutritional profile and contribute to maintaining overall health and well-being. PH Regulation and Stability One of the key advantages of Calcium Carbonate in food production is its ability to regulate pH levels. As a natural alkaline substance, it acts as a buffering agent, preventing drastic fluctuations in acidity. This property is particularly valuable in applications such as baking, where it helps maintain the stability and consistency of doughs and batters. It also improves the shelf life of various food products by acting as a preservative and preventing spoilage caused by microbial growth. Texture Enhancement Food texture significantly impacts consumer perception and satisfaction. Calcium Carbonate is widely employed in the food industry to improve the texture of various products. In baking, it can be used as a dough conditioner, enhancing elasticity and reducing stickiness. In dairy products, such as yogurt or cheese, it acts as a firming agent, providing a smooth and creamy texture. Moreover, it can be utilized as an anti-caking agent, preventing clumping and ensuring the free-flowing nature of powdered food products. Fortification of Beverages Calcium-fortified beverages have gained popularity due to the increasing demand for functional and healthy drinks. Calcium carbonate is often used to fortify fruit juices, soy milk, plant-based beverages, and other non-dairy products. By adding this mineral, manufacturers can boost the calcium content of these beverages, making them a convenient option for individuals who have dietary restrictions or lactose intolerance. Acid Neutralization Certain food products and ingredients possess acidic properties that can adversely affect taste, stability, and safety. Calcium Carbonate acts as an effective acid neutralizer, reducing the tartness or sourness of acidic foods and beverages. It is commonly employed in applications such as carbonated drinks, wine, sauces, and pickles, allowing manufacturers to balance flavors and create a more enjoyable sensory experience for consumers. Source of Calcium for Food Additives Calcium Carbonate is an essential component of numerous food additives. For example, it is used as a firming agent in canned fruits and vegetables, preventing the softening of these products during processing. It also serves as a color retention agent in processed meats, preserving their visual appeal. Furthermore, it is utilized as a leavening agent in baked goods, promoting dough rising and creating a light and airy texture. Conclusion Calcium Carbonate (CaCO3) offers numerous benefits and applications in the food industry. Its versatility as a nutritional supplement, pH regulator, texture enhancer, and fortifying agent makes it an indispensable component in a wide range of food products. From improving the nutritional value of foods to enhancing stability, texture, and taste, calcium carbonate plays a crucial role in creating enjoyable and healthier food options for consumers. As a result, its presence in the food industry continues to be instrumental in meeting the evolving demands of a health-conscious population.  Applications of Calcium Carbonate Food Grade The versatility of our Calcium Carbonate Food Grade makes it suitable for an extensive range of applications in the food and beverage industry. Here are some of the key areas where it excels: Baked Goods Our Calcium Carbonate is an excellent addition to the production of baked goods like bread, cakes, pastries, and more. It improves the structural integrity and enhances the texture of these products while also providing nutritional fortification. Improvement in Structure: Enhances structural integrity of baked goods. Textural Benefits: Contributes to a finer crumb and better mouthfeel. Nutritional Boost: Adds calcium fortification, making the baked goods healthier. Dairy and Non-Dairy Beverages In both dairy and non-dairy beverages, our Calcium Carbonate acts as an excellent fortifying agent, enriching the calcium content without altering the taste or texture of the beverage. Calcium Enrichment: Enhances the calcium content of dairy and non-dairy beverages. Neutral Impact on Flavor: Maintains the original taste of beverages. Consistent Texture: Ensures even distribution in liquid formulations, preserving the desired texture. Breakfast Cereals In breakfast cereals, our Calcium Carbonate aids in fortification, making these products a healthier option for consumers. It maintains the crunchiness and does not affect the flavor profile of the cereals. Crunchiness Maintenance: Keeps the desired crispy texture of cereals. Flavor Neutrality: Does not alter the taste of the cereals. Healthy Fortification: Adds essential calcium, enhancing the nutritional value. Confectionery Our Calcium Carbonate can be used in confectionery items to enhance texture and provide nutritional benefits. It seamlessly integrates into sweets, candies, and chocolates without compromising their taste or quality. Texture Enhancement: Improves the mouthfeel, etc. คำค้นหาสินค้า, Product Keyword แคลเซียมคาร์บอเนต ประโยชน์ แคลเซียมคาร์บอเนต คือ แคลเซียมคาร์บอเนต ประโยชน์ต่อร่างกาย แคลเซียมคาร์บอเนต 1500 mg แคลเซียมคาร์บอเนต สถานะ แคลเซียมคาร์บอเนต คุณสมบัติ แคลเซียมคาร์บอเนต ในอาหาร แคลเซียมคาร์บอเนต ภาษาอังกฤษ Calcium carbonate cas no Calcium carbonate formula Calcium carbonate uses Calcium carbonate tablets Calcium carbonate common name Calcium carbonate vitamin D3 Calcium Carbonate price Calcium carbonate in urine Caco3 hindi name CaCO3 common name caco3 + hcl Caco3 tab Caco3 mw Caco3 dose CaCO3 pH CaCO3 solubility ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ แคลเซียมคาร์บอเนต สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล More information of Calcium Carbonate, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) | สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) | สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) | สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) | สารฟอกสี (Bleaching Agent) | สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) | สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) | สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) | สี (Color) | สารคงสภาพของสี (Color Retention Agent) | อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) | เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) | สารทำให้แน่น (Firming Agent) | สารเพิ่มรสชาติ (Flavor Enhancer) | สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) | สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) | สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) | สารเคลือบผิว (Glazing Agent) | สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) | ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) | สารกันเสีย (Preservative) | ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) | สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) | สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) | สารทำให้คงตัว (Stabilizer) | สารให้ความหวาน (Sweetener) | สารให้ความข้นเหนียว (Thickener) More information of Food additive, Food Grade Chemical Food Chemical Codex, FCC, EP, USP, JP, please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive) Tel +6634 854888, +668 9312 8888 Official Line ID: thaipoly8888 Email: thaipoly8888 (at) gmail.com
|
|
|
6
|
พูดคุยทั่วไป / พูดคุยทั่วไป / โซเดียมโปรปิโอเนต, Sodium Propionate, โซเดียมโพรพิโอเนต, Mold Inhibitor, สารกันร
|
เมื่อ: ธันวาคม 19, 2024, 05:13:23 pm
|
โซเดียมโปรปิโอเนต, Sodium Propionate, โซเดียมโพรพิโอเนต, Mold Inhibitor, สารกันราขนมปัง, Food Grade E281 นำเข้าโซเดียมโปรปิโอเนต, ส่งออกโซเดียมโปรปิโอเนต, ผลิตโซเดียมโปรปิโอเนต, จำหน่ายโซเดียมโปรปิโอเนต สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comEmail: thaipoly8888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comPROPIONATEE281UDTPCC2025   วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) สารฟอกสี (Bleaching Agent) สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) สี (Color) สารคงสภาพของสี (Color Retention Agent) อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) สารทำให้แน่น (Firming Agent) สารเพิ่มรสชาติ (Flavor Enhancer) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) สารเคลือบผิว (Glazing Agent) สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) สารกันเสีย (Preservative) ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) สารทำให้คงตัว (Stabilizer) สารให้ความหวาน (Sweetener) สารให้ความข้นเหนียว (Thickener) ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ วัตถุเจือปนอาหาร สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล More information of food additive, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC) More information of Calcium Propionate food additive E282, please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive). Tel +6634 854888, +668 9312 8888, Line ID: thaipoly8888, Email address: thaipoly8888 (at) gmail.com
|
|
|
7
|
พูดคุยทั่วไป / พูดคุยทั่วไป / แคลเซียมโปรปิโอเนต, Calcium Propionate, แคลเซียมโพรพิโอเนต, Mold Inhibitor, สารก
|
เมื่อ: ธันวาคม 19, 2024, 05:11:21 pm
|
แคลเซียมโปรปิโอเนต, Calcium Propionate, แคลเซียมโพรพิโอเนต, Mold Inhibitor, สารกันราขนมปัง, Food Additive E282 นำเข้าแคลเซียมโปรปิโอเนต, ส่งออกแคลเซียมโปรปิโอเนต, ผลิตแคลเซียมโปรปิโอเนต, จำหน่ายแคลเซียมโปรปิโอเนต สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comEmail: thaipoly8888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comPROPIONATEE282UDTPCC2025   แคลเซียมโปรปิโอเนต : สารกันรา ในขนมปังที่คุณควรรู้จัก แคลเซียมโปรปิโอเนต (Calcium Propionate) เป็นสารเคมีชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้เป็นสารกันราในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ โดยเฉพาะขนมปัง เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา และป้องกันไม่ให้ขนมปังขึ้นรา ซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ คุณสมบัติของสินค้า สารกันรา ขนมปัง ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราและแบคทีเรียได้ดี เช่น ราและแบคทีเรีย ที่ทำให้เกิดการเสื่อมเสียในผลิตภัณฑ์ขนมอบต่าง ๆ แต่ไม่มีผลต่อยีสต์ที่ช่วยทำให้ผลิตภัณฑ์ขึ้นฟู หากใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารที่มี pH < 5.0 จะให้ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์สูงสุด โดยจะมีผลต่อผนังเซลล์และเอนไซม์ของจุลินทรีย์ ทำให้จุลินทรีย์ไม่สามารถดำรงชีพอยู่ได้ ละลายได้ดีในน้ำ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ส่งผลกระทบต่อกลิ่นและรสชาติของผลิตภัณฑ์ ปริมาณการใช้งาน สารกันรา ขนมปัง ในผลิตภัณฑ์ขนมปังใช้ 0.1 – 0.2% ของน้ำหนักทั้งหมด ในผลิตภัณฑ์เนยแข็ง ใช้ไม่เกิน 0.3 % ของน้ำหนักทั้งหมด ทำไมต้องใช้ แคลเซียมโปรปิโอเนต ในขนมปัง ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา : สารนี้มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราหลายชนิดที่มักพบในขนมปัง ยืดอายุการเก็บรักษา: ทำให้ขนมปังคงความสดใหม่ และสามารถเก็บไว้ได้นานขึ้น รักษาคุณภาพ: ช่วยรักษาสี กลิ่น และรสชาติของขนมปัง ให้อยู่ในสภาพที่ดี แคลเซียมโปรปิโอเนต ทำงานอย่างไร แคลเซียมโปรปิโอเนต จะเข้าไปยับยั้งการทำงานของเอนไซม์บางชนิดในเซลล์ของเชื้อรา ทำให้เชื้อราไม่สามารถสร้างพลังงานและเจริญเติบโตได้ แคลเซียมโปรปิโอเนต ปลอดภัยหรือไม่ ได้รับการอนุมัติ : แคลเซียมโปรปิโอเนต ได้รับการอนุมัติจากองค์การอาหารและยา (อย.) ให้ใช้เป็นสารกันบูดในอาหารได้ ความเสี่ยง : เมื่อบริโภคในปริมาณที่กำหนด จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ แต่การบริโภคในปริมาณมาก อาจทำให้เกิดอาการแพ้ในบางบุคคล เช่น ผื่นคัน คลื่นไส้ อาเจียน ข้อควรระวัง : ผู้ที่มีอาการแพ้หรือมีความไวต่อสารเคมี ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีส่วนผสมของแคลเซียมโปรปิโอเนต สารกันรา มีอยู่ในอาหารประเภทใดบ้าง นอกจากขนมปังแล้ว สารกันรา แคลเซียมโปรปิโอเนต ยังพบได้ในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่อื่นๆ เช่น เค้ก คุกกี้ ขนมปังปอนด์ และเบเกอรี่อื่นๆ ทางเลือกอื่นๆ หากคุณกังวลเกี่ยวกับการบริโภคแคลเซียมโปรปิโอเนต สามารถเลือกบริโภคขนมปังโฮมเมด หรือขนมปังที่ผลิตจากร้านเบเกอรี่ขนาดเล็ก ที่ไม่ใช้สารกันบูด หรือเลือกซื้อขนมปัง ที่มีอายุการเก็บรักษาสั้นกว่า เป็นางเลือกที่เหมาะสมได้ More information of Calcium Propionate food additive E282, please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive). Tel +6634 854888, +668 9312 8888, Line ID: thaipoly8888, Email address: thaipoly8888 (at) gmail.com
|
|
|
8
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / แคลเซียมคลอไรด์, เกรดอาหาร, Calcium Chloride, CaCl2, Food Grade, Food Additive E
|
เมื่อ: ธันวาคม 10, 2024, 10:45:03 am
|
แคลเซียมคลอไรด์, เกรดอาหาร, Calcium Chloride, CaCl2, Food Grade, Food Additive E509 นำเข้าแคลเซียมคลอไรด์, ส่งออกแคลเซียมคลอไรด์, ผลิตแคลเซียมคลอไรด์, จำหน่ายแคลเซียมคลอไรด์ สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comEmail: thaipoly8888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comCACL2E5092025UDTPCC001 Calcium chloride is used in food industry as food additive E509, mainly used as firming agent in food products. Usage of food additive E509 (calcium chloride) is regulated in production of cheese, cottage cheese, dry milk, jam, jelly, marmalade, preserved vegetables, preserved fruit and universal food applications. In dairy industry, calcium chloride (E509) is used in production of fermented dairy products and plays an important role in curd formation. Addition of calcium chloride increases the yield. It compensates for low calcium content in milk, as well as for its loss after pasteurization, effects the duration of formation and taste of curd, as calcium ions promote protein binding. Lime water (saturated calcium hydroxide solution) is often added to cream when separating it from whole milk in order to lower its acidity before pasteurization and transformation to butter. Skim milk is then acidified to separate caseine, which is mixed with lime to get caseine glue. After fermentation of the rest of skim milk (serum) lime is added to extract calcium lactate that is used in medicine or as raw material for further derivation of lactic acid. CACL2E5092025UDTPCC001 More information of Calcium Chloride food additive E509, please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive). Tel +6634 854888, +668 9312 8888, Line ID: thaipoly8888, Email address: thaipoly8888 (at) gmail.com  
|
|
|
9
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / แคลเซียม คาร์บอเนต, Calcium Carbonate, เกรดอาหาร, Food Grade, E170, วัตถุเจือปนอ
|
เมื่อ: ธันวาคม 02, 2024, 09:08:31 am
|
แคลเซียม คาร์บอเนต, Calcium Carbonate, เกรดอาหาร, Food Grade, E170, วัตถุเจือปนอาหาร, CaCO3 สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.com 
|
|
|
10
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / ผงชูรส, โมโนโซเดียมกลูตาเมต, Monosodium Glutamate, เอ็มเอสจี, MSG, เกรดอาหาร, Fo
|
เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2024, 11:58:29 am
|
ผงชูรส, โมโนโซเดียมกลูตาเมต, Monosodium Glutamate, เอ็มเอสจี, MSG, เกรดอาหาร, Food Grade นำเข้าผงชูรส, ส่งออกผงชูรส, จำหน่ายผงชูรส, ขายผงชูรส, วัตถุเจือปนอาหาร, Food Additive E621 สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comEmail: thaipoly8888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.com MSG2025UDTPCC001 คำค้นหาผลิตภัณฑ์, PRODUCT KEYWORD, ผงชูรส, ผงนัว, ผงปรุงรส, เอ็มเอสจี, อูมามิ กลูตาเมต, เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, E621 วัตถุปรุงแต่งรสอาหาร, วัตถุเสริมรสชาติอาหาร โมโนโซเดียมกลูตาเมต, โมโนโซเดียมกลูตาเมท มอนอโซเดียมกลูตาเมต, มอนอโซเดียมกลูตาเมท โซเดียมกลูตาเมต, โซเดียมกลูตาเมท โซเดียมไฮโดรเจนกลูตาเมต, ดีแอลกลูตาเมต Monosodium Glutamate, MSG, Umami Monosodium DL-Glutamate, Sodium Glutamate Food Grade, Food Additive, E621, FCC Seasoning, Flavor Enhancer, Flavour Enhancer Sodium-2-Aminopentanedioate, C5H8NNaO4 Sodium Hydrogen Glutamate, C5H8NO4Na Glutamic acid Monosodium Salt Glutamic acid Sodium Salt รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ผงชูรส (โมโนโซเดียมกลูตาเมต) ผงชูรส หรือ โมโนโซเดียมกลูตาเมต (มอโนโซเดียมกลูตาเมต) หรือ เอ็มเอสจี คือเครื่องปรุงรสอาหาร ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เป็นวัตถุเจือปนอาหาร เพื่อเพิ่มความเข้มข้น เพิ่มรสชาติ และปรุงแต่งรสชาติ ในซอส น้ำซุป ซุป และอาหารชนิดอื่นๆ อีกมากมาย นอกจากนี้ยังสามารถใช้เป็นเกลือ ทดแทนเกลือได้บางส่วน ซึ่งมีโซเดียมเพียง 1 ใน 3 และได้รับการจัดประเภทว่ามีความปลอดภัย โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา และองค์การอนามัยโลก ผงชูรส เดิมมีความเกี่ยวข้องกับอาหารเอเชียเป็นหลัก ปัจจุบันมีการใช้ผงชูรสอย่างกว้างขวางทั่วโลก เพื่อดึงรสชาติที่อร่อยของอาหารออกมา ผงชูรส (โมโนโซเดียมกลูตาเมต) ผลิตขึ้นโดยการหมักส่วนผสมจากพืช เช่น อ้อย หัวบีท มันสำปะหลัง ข้าวโพด เป็นต้น ผงชูรส เป็นเกลือโซเดียมของกรดกลูตามิก ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมากที่สุดชนิดหนึ่ง กรดกลูตามิก ผลิตขึ้นมากมายในร่างกายของเรา และพบได้ในอาหารหลายชนิดที่เรารับประทานทุกวัน ได้แก่ เนื้อสัตว์ ปลา ไข่ และผลิตภัณฑ์จากนม เช่นเดียวกับมะเขือเทศ ข้าวโพด และถั่ว เมื่อโปรตีนที่มีกรดกลูตามิก ถูกย่อยสลาย เช่น ผ่านการหมัก จะกลายเป็นกลูตาเมต กลูตาเมตจะช่วยกระตุ้นตัวรับรสของเรา ทำให้เกิดรสชาติเผ็ด อร่อย กลมกล่อม ที่เรียกว่า อูมามิ นั่นเอง ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ผงชูรส (โมโนโซเดียมกลูตาเมต หรือ เอ็มเอสจี) สามารถติดต่อได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) โทร 034854888, 0893128888, ไลน์ไอดี thaipoly8888, อีเมลล์แอดเดรส thaipoly8888 (at) gmail.com MSG2025UDTPCC001 MONOSODIUM GLUTAMATE (MSG) Popular as a seasoning and flavor enhancer, MSG or monosodium glutamate, is the purest form of umami, the fifth taste. Monosodium Glutamate (MSG) is widely used to intensify and enhance taste and flavors in sauces, broths, soups and many more food applications. It can also be used as a partial replacement for salt, containing just one-third the sodium, and is classified as safe by the United States Food and Drug Administration and the World Health Organization. Originally associated mainly with Asian cuisines, MSG is now used around the world to bring out the delicious flavor of foods. Today, the Monosodium Glutamate (MSG) is produced through fermentation of plant-based ingredients such as sugar cane, sugar beets, cassava or corn, etc. MSG is the sodium salt of glutamic acid, one of the most common naturally occurring amino acids. Glutamic acid is produced in abundance in our bodies and found in many foods we eat every day, including meat, fish, eggs and dairy products, as well as tomatoes, corn and nuts. When a protein containing glutamic acid is broken down, for example through fermentation, it becomes glutamate. Glutamate activates our taste receptors, eliciting the delicious savory taste known as umami. More information of Monosodium Glutamate (MSG), please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive). Tel +6634 854888, +668 9312 8888, Line ID: thaipoly8888, Email address: thaipoly8888 (at) gmail.com MSG2025UDTPCC001 
|
|
|
11
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์, ด่างคลี, วัตถุเจือปนอาหาร, Potassium Hydroxide, KOH, Food
|
เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2024, 01:53:00 pm
|
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์, ด่างคลี, วัตถุเจือปนอาหาร, Potassium Hydroxide, KOH, Food Additive, E525 สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด Thai Poly Chemicals Company Limited Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comUD001TPCCKOH12112024  ข้อมูลพื้นฐาน โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ด่างคลี เป็นสารประกอบค่าด่างสูง ดูดความชื้น ละลายน้ำได้ดี โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) มีลักษณะกายภาพ เป็นของเหลว และ ของแข็ง ไม่มีสี หรือ สีขาว ไม่มีกลิ่น ไม่ระเหย ไม่ติดไฟ การใช้ประโยชน์ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เคมีเกษตร, ปุ๋ย, สบู่, น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ ได้แก่ น้ำยาล้างพื้น น้ำยาเช็ดล้าง น้ำยาล้างกระจก เป็นต้น, ผงซักฟอก, งานบ่ม, งานหมัก, ยาง และผลิตภัณฑ์จากยาง, น้ำยางลาเท็กซ์ และผลิตภัณฑ์จากน้ำยางลาเท็กซ์, โรซินเอเจนท์, สีย้อม, ใช้ในการผลิตแบตเตอรี เป็นอัลคาไลน์เซลล์, ใช้ผลิตไบโอดีเซล, ใช้ในกระบวนการผลิตแก้ว, ปิโตรเลียม, ปิโตรเคมี เช่น ใช้เป็น Promoters ในการสังเคราะห์เม็ดพลาสติก เอบีเอส เป็นต้น, ใช้ในการผลิตเซลล์สุริยะ หรือ Solar Cell, ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเคมีภัณฑ์ ในกลุ่ม โพแทสเซียม เช่น โพแทสเซียมคาร์บอเนต, โพแทสเซียมซิลิเกต เป็นต้น, ใช้ในงานอุตสาหกรรมสำหรับกระบวนการผลิต เครื่องสำอาง อุตสาหกรรมอาหาร และ อุตสาหกรรมยา เป็นต้น Applications of Potassium Hydroxide (KOH) Potassium Carbonate, Potassium Silicate, Other Potassium Chemicals, Detergents, Food, Rubber, Agrochemicals, Fermentation, Rosin Agent, Dyestuffs, Alkaline Battery, Biodiesel, Petroleum, Petrochemical, etc. KOH Conform to Food Chemicals Codex IV and FAIA E525. Conforms Kosher & Pareve approved for year around use including Passover. Conforms to Islamic HALAL conditions. UD1 ชื่อเรียกอื่นๆ ของ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ได้แก่ คอสติกโพแทส, คอสติกโปแตส, เคโอเอช, ด่างคลี, โพแทสเซีย, โปแตสเซีย โพแทสเซียมไฮเดรต, โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โพทัสเซียมไฮเดรต, โพทัสเซียมไฮดรอกไซด์ โปแตสเซียมไฮเดรต, โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ โปตัสเซียมไฮเดรต, โปตัสเซียมไฮดรอกไซด์ Synonym of Potassium Hydroxide Caustic Potash, Food Additive E525 KOH, KOH48, KOH90, KOH95 Lye, Potash Lye, Potassia Potassium Hydrate, Potassium Hydroxide ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ วัตถุเจือปนอาหาร E525 สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (ทีพีซีซี) More Technical Information of Potassium Hydroxide, KOH, Food Additive E525 Please Contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC)
|
|
|
12
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / แป้งข้าวจ้าว, RICE FLOUR, แป้งข้าวเจ้า, GLUTINOUS RICE FLOUR, แป้งข้าวเหนียว, TH
|
เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2024, 06:07:47 pm
|
แป้งข้าวจ้าว, RICE FLOUR, แป้งข้าวเจ้า, GLUTINOUS RICE FLOUR, แป้งข้าวเหนียว, THAILAND STARCH สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company Limited (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comBYUDOM THAILAND STARCH  สินค้าในกลุ่ม แป้ง, FLOUR, สตาร์ช, STARCH ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ ACETYLATED ATARCH, E1420, อะซิทิลเลต สตาร์ช, แป้งอะซิทิลเลต CASSAVA STARCH, คาสซาวา สตาร์ช, แป้งคาสซาวา, สตาร์ชคาสซาวา CORN STARCH, คอร์น สตาร์ช, แป้งข้าวโพด, สตาร์ชข้าวโพด PEA STARCH, พี สตาร์ช, แป้งถั่วลันเตา, แป้งถั่วพี, สตาร์ชถั่วลันเตา POTATO STARCH, โปเตโต้ สตาร์ช, แป้งมันฝรั่ง, สตาร์ชมันฝรั่ง, แป้งมันฮ่องกง TAPIOCA STARCH, ทาปิโอก้า สตาร์ช, แป้งมันสำปะหลัง, สตาร์ชมันสำปะหลัง WHEAT STARCH, วีท สตาร์ช, แป้งวีท, แป้งสาลี, แป้งข้าวสาลี, สตาร์ชข้าวสาลี, แป้งฮะเก๋า NATIVE STARCH, แป้งเนทีฟ, เนทีฟสตาร์ช, สตาร์ชเนทีฟ, แป้งดิบ, แป้งธรรมชาติ MAIZE STARCH, เมซสตาร์ช, แป้งเมซ, แป้งเมล็ดข้าวโพดบดละเอียด MODIFIED STARCH, แป้งดัดแปร, มอดิฟายด์ สตาร์ช, แป้งมอดิฟายด์, แป้งโมดิฟายด์ CORN FLOUR, MAIZE FLOUR, แป้งข้าวโพด, แป้งเมซ, คอร์น ฟลาว, เมซฟลาว GLUTINOUS RICE FLOUR, แป้งข้าวเหนียว, กลูติเนียสไรซ์ฟลาว RICE FLOUR, แป้งข้าวจ้าว, แป้งข้าวเจ้า, ไรซ์ฟลาว WHEAT FLOUR, แป้งสาลี, วีท ฟลาว, แป้งวีท, แป้งวีทไทย, แป้งวีทนอก, แป้งวีทนำเข้า VITAL WHEAT GLUTEN, ไวทัลวีทกลูเตน, โปรตีนข้าวสาลี, แป้งตั้งหมิ่น, โปรตีนวีท WHEAT GLUTEN, วีทกลูเตน, วีทกลูเต้น, แป้งหมี่กึง, แป้งเจโปรตีนวีท, โปรตีนแป้งสาลี ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ แป้ง, สตาร์ช, วัตถุเจือปนอาหาร, เกรดอาหาร สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (ทีพีซีซี) More technical information of flour, starch, food additive, food grade Please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC)
|
|
|
13
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / วัตถุเจือปนอาหาร, Food Additive, สารเคมีเกรดอาหาร, Food Grade Chemical, ฟู้ดเกรด
|
เมื่อ: ตุลาคม 23, 2024, 05:26:33 pm
|
วัตถุเจือปนอาหาร, Food Additive, สารเคมีเกรดอาหาร, Food Grade Chemical, ฟู้ดเกรดเคมิคอล, ฟู้ดแอดดิทีฟ สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด Thai Poly Chemicals Company Limited Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: thaipoly8888@gmail.comEmail: polychemicals888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comTPCCBYUDFOODADDITIVETHAILAND  วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) สารฟอกสี (Bleaching Agent) สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) สี (Colour) สารคงสภาพของสี (Colour Retention Agent) อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) สารทำให้แน่น (Firming Agent) สารเพิ่มรสชาติ (Flavour Enhancer) สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) สารเคลือบผิว (Glazing Agent) สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) สารกันเสีย (Preservative) ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) สารทำให้คงตัว (Stabilizer) สารให้ความหวาน (Sweetener) สารให้ความข้นเหนียว (Thickener) ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ วัตถุเจือปนอาหาร สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล More information of food additive, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC)
|
|
|
14
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / แป้งถั่ว, แป้งถั่วพี, แป้งถั่วลันเตา, พีสตาร์ช, สตาร์ชถั่วลันเตา, Pea Starch, Th
|
เมื่อ: ตุลาคม 19, 2024, 02:06:53 pm
|
แป้งถั่ว, แป้งถั่วพี, แป้งถั่วลันเตา, พีสตาร์ช, สตาร์ชถั่วลันเตา, Pea Starch, Thailand Starch สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company Limited (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comPEASTARCHUDOMTPCC  สินค้าในกลุ่ม แป้ง, สตาร์ช, FLOUR, STARCH ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ ACETYLATED ATARCH, E1420, อะซิทิลเลต สตาร์ช, แป้งอะซิทิลเลต CASSAVA STARCH, คาสซาวา สตาร์ช, แป้งคาสซาวา, สตาร์ชคาสซาวา CORN STARCH, คอร์น สตาร์ช, แป้งข้าวโพด, สตาร์ชข้าวโพด PEA STARCH, พี สตาร์ช, แป้งถั่วลันเตา, แป้งถั่วพี, สตาร์ชถั่วลันเตา POTATO STARCH, โปเตโต้ สตาร์ช, แป้งมันฝรั่ง, สตาร์ชมันฝรั่ง, แป้งมันฮ่องกง TAPIOCA STARCH, ทาปิโอก้า สตาร์ช, แป้งมันสำปะหลัง, สตาร์ชมันสำปะหลัง WHEAT STARCH, วีท สตาร์ช, แป้งวีท, แป้งสาลี, แป้งข้าวสาลี, สตาร์ชข้าวสาลี, แป้งฮะเก๋า NATIVE STARCH, แป้งเนทีฟ, เนทีฟสตาร์ช, สตาร์ชเนทีฟ, แป้งดิบ, แป้งธรรมชาติ MAIZE STARCH, เมซสตาร์ช, แป้งเมซ, แป้งเมล็ดข้าวโพดบดละเอียด MODIFIED STARCH, แป้งดัดแปร, มอดิฟายด์ สตาร์ช, แป้งมอดิฟายด์, แป้งโมดิฟายด์ CORN FLOUR, MAIZE FLOUR, แป้งข้าวโพด, แป้งเมซ, คอร์น ฟลาว, เมซฟลาว WHEAT FLOUR, แป้งสาลี, วีท ฟลาว, แป้งวีท, แป้งวีทไทย, แป้งวีทนอก, แป้งวีทนำเข้า VITAL WHEAT GLUTEN, ไวทัลวีทกลูเตน, โปรตีนข้าวสาลี, แป้งตั้งหมิ่น, โปรตีนวีท WHEAT GLUTEN, วีทกลูเตน, วีทกลูเต้น, แป้งหมี่กึง, แป้งเจโปรตีนวีท, โปรตีนแป้งสาลี ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ วัตถุเจือปนอาหาร สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล More information of food additive, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC) คำค้นหาผลิตภัณฑ์, พีสตาร์ช, พี สตาร์ช, แป้งถั่วลันเตา, แป้งพี, แป้งถั่ว, แป้งถั่วพี, แป้งพีสตาร์ช, สตาร์ชพี, สตาร์ชถั่ว, สตาร์ชถั่วลันเตา, แป้งถั่วนอก, peastarch, pea starch, nativepeastarch, native pea starch, peastarch food grade, edible peastarch, ผลิตแป้งถั่วลันเตา, นำเข้าแป้งถั่วลันเตา, โรงงานแป้งถั่วลันเตา, ส่งออกแป้งถั่วลันเตา, ขายแป้งถั่วลันเตา, จำหน่ายแป้งถั่วลันเตา, แป้งถั่วลันเตาธรรมชาติ, แป้งถั่วลันเตายุโรป, แป้งมันถั่วลันเตาวินด์มิล, แป้งถั่วลันเตาเนทีฟ, เนทีฟสตาร์ช, มอดิฟายด์สตาร์ช, โมดิฟายด์สตาร์ช, native starch, modified starch, Thailand starch, food grade, food additive, food starch, food flour, polystarch, polyflour, polyfood, polyadditive, polyingredient, thailandflour, Thailand starch More information of edible starch, food starch, native starch, modified starch Please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC), Thailand PRODUCT DESCRIPTION Native pea starch offers key performance and functionality benefits in a wide variety of applications. Anti-caking for shredded cheese. Grain-free texturizing in gluten-free baked goods. Partially replacing gelatin in gummy and jelly confectionery. Pea starch is perceived by consumers to be healthier than other starches and is accepted as an ingredient in a variety of applications. Plus, it supports today’s most popular label claims, such as non-GMO, vegan, grain-free and gluten-free. Versatile functionality with strong performance characteristics Flowable powder Quick-setting, firm gels High water binding capacity Good film-forming properties Low dusting More efficient and economical production lines Pea starches provide gelling at lower temperatures than high-amylose native corn starches, eliminating the requirement of jet cooking and its extra energy expense. And because pea starch offers low, stable viscosity with little breakdown compared to other native starches, your solutions are easier to stir, pour and pump. Pea starch, a smart choice across many demanding categories Baked goods: Create gluten-free baked goods and dry mixes with similar attributes to gluten-containing products that consumers crave Batter & breaded products: Provide good adhesion and crispy texture in breading and help maintain those textures over time Confectionery products: Achieve production efficiencies for gummy and jelly confectionery while supporting differentiated and appealing textures Meat emulsions and analogs: Deliver a clean label solution for creating firm, meaty textures while improving cook yield Noodles: Help meet the demand for on-trend, consumer friendly ingredients in pastas and noodles Shredded cheese: Replace cellulose- and potato-based anti-caking agents while providing label-friendly performance Snacks: Answer demand for clean label extruded snacks with innovative, just-right textures Tumble marinated poultry: Replace phosphate, while delivering good cook yield and flavor Pet food and treats: Improve texture and functionality with a clean label Discover a wealth More information of pea starch, food grade, native starch, modified starch Please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC), Thailand
|
|
|
15
|
Sitemap SMB / สินค้าอื่นๆ / แป้งมันฝรั่ง, แป้งโปเตโต้, โปเตโต้สตาร์ช, แป้งมันฮ่องกง, Potato Starch, Thailand
|
เมื่อ: ตุลาคม 08, 2024, 10:27:44 am
|
แป้งมันฝรั่ง, แป้งโปเตโต้, โปเตโต้สตาร์ช, แป้งมันฮ่องกง, Potato Starch, Thailand Starch สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่ บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร) Thai Poly Chemicals Company Limited (Food Additive) Tel No: 034496284, 034854888 Mobile: 0800160016, 0893128888 Line ID: thaipoly8888 Line ID: thaipolychemicals Email: polychemicals888@gmail.comWebsite: www.thaipolychemicals.comPOTATOSTARCHUDOMTPCC  สินค้าในกลุ่ม แป้ง, สตาร์ช, FLOUR, STARCH ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่ ACETYLATED ATARCH, E1420, อะซิทิลเลต สตาร์ช, แป้งอะซิทิลเลต CORN STARCH, คอร์น สตาร์ช, แป้งข้าวโพด, สตาร์ชข้าวโพด PEA STARCH, พี สตาร์ช, แป้งถั่วลันเตา, แป้งถั่วพี, สตาร์ชถั่วลันเตา POTATO STARCH, โปเตโต้ สตาร์ช, แป้งมันฝรั่ง, สตาร์ชมันฝรั่ง, แป้งมันฮ่องกง TAPIOCA STARCH, ทาปิโอก้า สตาร์ช, แป้งมันสำปะหลัง, สตาร์ชมันสำปะหลัง WHEAT STARCH, วีท สตาร์ช, แป้งวีท, แป้งสาลี, แป้งข้าวสาลี, สตาร์ชข้าวสาลี, แป้งฮะเก๋า NATIVE STARCH, แป้งเนทีฟ, เนทีฟสตาร์ช, สตาร์ชเนทีฟ, แป้งดิบ, แป้งธรรมชาติ MAIZE STARCH, เมซสตาร์ช, แป้งเมซ, แป้งเมล็ดข้าวโพดบดละเอียด MODIFIED STARCH, แป้งดัดแปร, มอดิฟายด์ สตาร์ช, แป้งมอดิฟายด์, แป้งโมดิฟายด์ CORN FLOUR, MAIZE FLOUR, แป้งข้าวโพด, แป้งเมซ, คอร์น ฟลาว, เมซฟลาว WHEAT FLOUR, แป้งสาลี, วีท ฟลาว, แป้งวีท, แป้งวีทไทย, แป้งวีทนอก, แป้งวีทนำเข้า VITAL WHEAT GLUTEN, ไวทัลวีทกลูเตน, โปรตีนข้าวสาลี, แป้งตั้งหมิ่น, โปรตีนวีท WHEAT GLUTEN, วีทกลูเตน, วีทกลูเต้น, แป้งหมี่กึง, แป้งเจโปรตีนวีท, โปรตีนแป้งสาลี ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ วัตถุเจือปนอาหาร สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล More information of food additive, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC) คำค้นหาผลิตภัณฑ์, โปเตโต้สตาร์ช, โปเตโต้ สตาร์ช, แป้งมันฝรั่ง, แป้งโปเตโต้, แป้งโปเตโต้สตาร์ช, สตาร์ชโปเตโต้, สตาร์ชมันฝรั่ง, แป้งมันฮ่องกง, potatostarch, potato starch, nativepotatostarch, native potato starch, potatostarch food grade, edible potatostarch, ผลิตแป้งมันฝรั่ง, นำเข้าแป้งมันฝรั่ง, โรงงานแป้งมันฝรั่ง, ส่งออกแป้งมันฝรั่ง, จำหน่ายแป้งมันฝรั่ง, แป้งมันฝรั่งไทย, แป้งมันฝรั่งนอก, แป้งมันฝรั่งนำเข้า, แป้งมันฝรั่งเนทีฟ, เนทีฟสตาร์ช, มอดิฟายด์สตาร์ช, native starch, modified starch, Thailand starch, food grade, food additive, food starch, food flour, polystarch, polyflour, polyfood, polyadditive, polyingredient More information of edible starch, food starch, native starch, modified starch Please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC), Thailand
|
|
|
ฐานข้อมูลผิดพลาด |
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
|
|