ดูแลสุขภาพ: ทำไม ‘ วัยทอง ’ ถึงเสี่ยง โรคกระดูกพรุน

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ดูแลสุขภาพ: ทำไม ‘ วัยทอง ’ ถึงเสี่ยง โรคกระดูกพรุน  (อ่าน 14 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
siritidaphon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 560


ดูรายละเอียด










« เมื่อ: กันยายน 08, 2023, 07:11:21 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

สงสัยไหมว่า วัยทอง หรือ วัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับ โรคกระดูกพรุน เหตุใดผู้หญิงหลังหมดประจำเดือน ถึงมีแนวโน้มสูญเสียมวลกระดูก และเสี่ยงเป็น โรคกระดูกพรุน จะตอบข้อข้องใจ และให้คำแนะนำคุณผู้หญิงในการดูแลตัวเอง เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่วัยทอง


ผู้หญิง วัยทอง ต้องเจอความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง?

ผู้หญิงจะมีรังไข่ซึ่งทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) และฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ควบคุมการมีประจำเดือนและภาวะเจริญพันธุ์ แต่เมื่อผู้หญิงอายุย่างเข้าสู่ช่วงปลายของวัย 30 จะเริ่มผลิตฮอร์โมนได้ลดลง จนเมื่อเข้าสู่ช่วงอายุ 40 ประจำเดือนของผู้หญิงอาจมาในระยะเวลานานขึ้น หรือมาในระยะเวลาที่สั้นลง มามากขึ้น หรือมาน้อยลง มาถี่ขึ้น หรือมาห่างจากเดิม และเมื่ออายุเฉลี่ยประมาณ 51 ปี รังไข่ของผู้หญิงจะหยุดการผลิตไข่ และก็จะไม่มีประจำเดือนอีก

สิ่งเหล่านี้อาจนำมาซึ่งอาการและความผิดปกติของร่างกาย เมื่อต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น ช่องคลอดแห้ง ร้อนวูบวาบ หนาวสั่น เหงื่อออกตอนกลางคืน มีปัญหาการนอนหลับ อารมณ์เปลี่ยนแปลง น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ผมบางลง ผิวแห้ง และโรคกระดูกพรุน


กระดูกพรุนคืออะไร?

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือ โรคกระดูกที่เป็นผลมาจากประสิทธิภาพในการสร้างกระดูกใหม่ลดลง การซ่อมแซมเพื่อทดแทนกระดูกเก่าหรือกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บก็ลดลง หรือทำได้ช้าลง ทำให้เกิดภาวะกระดูกเปราะ แตกหักง่าย กระดูกพรุนเป็นโรคที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน แต่ในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนจะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ด้วยปัจจัยทางกายภาพ โดยข้อมูลของสภากาชาดไทย ณ วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2565 พบว่า ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนร้อยละ 30 มีภาวะโรคกระดูกพรุน ดังนั้น ผู้หญิงในวัยนี้จึงต้องระมัดระวังสุขภาพเป็นพิเศษ


ทำไมประจำเดือนหมด ถึงเสี่ยงกระดูกพรุน

โดยปกติ มวลกระดูกจะสลายและสร้างใหม่ได้รวดเร็วอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งอายุ 30 ปี การเสริมสร้างและซ่อมแซมของมวลกระดูกจะเริ่มช้าลง และร่างกายจะเริ่มสูญเสียมวลกระดูกไปบางส่วน

ในผู้หญิง ฮอร์โมนเอสโตรเจนมีบทบาทในการขับเคลื่อนระบบการทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย ทั้งช่วยควบคุมการมีรอบเดือนของผู้หญิงให้เป็นไปตามปกติ และยังมีส่วนในการเสริมสร้างมวลกระดูกและป้องกันการสลายของมวลกระดูก

เมื่อเข้าสู่ช่วงวัยหมดประจำเดือน ร่างกายของผู้หญิงจะผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนได้ช้าลง ทำให้ระดับฮอร์โมนชนิดนี้ในร่างกายลดลงอย่างมาก และเมื่อฮอร์โมนเอสโตรเจนไม่เพียงพอ การสลายของมวลกระดูกมากกว่าการเสริมสร้างซ่อมแซม มวลกระดูกจึงลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้กระดูกที่โดยปกติมีลักษณะเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้ำที่เคยได้รับการเติมเต็มด้วยมวลกระดูกกลายเป็นรูว่าง ๆ ความหนาแน่นของกระดูกลดลง กระดูกจึงเปราะ และแตกหักได้ง่ายนั่นเอง


ดูแลสุขภาพ: ทำไม ‘ วัยทอง ’ ถึงเสี่ยง โรคกระดูกพรุน อ่านบทความเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ [url]https://www.healthyhitech.net/[/url]



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ