ก่อน จดทะเบียนบริษัท ต้องรู้อะไรบ้าง

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ก่อน จดทะเบียนบริษัท ต้องรู้อะไรบ้าง  (อ่าน 31 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Lali
หัดขับ
*

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 21


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: มกราคม 11, 2025, 06:56:11 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement



เริ่มต้นทำธุรกิจควรจดทะเบียนบริษัทเลยดีไหม? บทความนี้ทาง นรินทร์ทอง นำข้อควรรู้ก่อน จดทะเบียนบริษัท มาฝากทุกคนกัน! เพราะข้อดีของการรู้ข้อมูลก่อน จะทำให้คุณสามารถเตรียมวางแผนด้านต่างๆ ได้อย่างราบรื่น


เตรียมพร้อมก่อนเริ่มต้น จดทะเบียนบริษั


นิติบุคคล คืออะไร

นิติบุคคล หมายถึง บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นมาให้มีสภาพเหมือนบุคคล โดยมีชื่อบริษัท เลขประจำตัวผู้เสียภาษี (เลขประจำตัวประชาชน) ดังนั้นการจดทะเบียนบริษัทนิติบุคคลขึ้นมา เปรียบเสมือนการสร้างตัวแทนทางกฏหมาย ของหุ้นส่วนกิจการหลายๆ คนรวมกัน

จดบริษัท ประหยัดภาษีจริงไหม ?

เชื่อว่าหลายคนในที่นี้คงอย่ารู้ว่า [url=https://www.narinthong.com/?p=5802&preview=true] จดบริษัทช่วยประหยัดภาษีจริงไหม ?
ก่อนหน้านี้ทาง นรินทร์ทอง ได้เขียนถึงเนื้อหานี้กันไปแล้ว ดังนั้นหัวข้อนี้เราจึงอยากมาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายระหว่าง บุคคลธรรมดา กับ นิติบุคคล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. บุคคลธรรมดา - รายได้หลักมาจาก เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง โบนัส หรือ การรับจ้างทำงาน ซึ่งเป็นเงินได้ประเภท 40(1) และ 40(2) เงินได้ในกลุ่มนี้สามารถหักแบบเหมาได้ไม่เกิน 50% แต่รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท ทำให้เราไม่สามารถนำค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจ มาใช้ได้อย่างเต็มที่ และ ยังมีอัตราภาษีในรูปแบบอัตราก้าวหน้าที่เพดานสูงถึง 35%
2. นิติบุคคล - ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจขายออนไลน์ ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจโรงพยาบาล รายได้ที่เกิดขึ้นจะต้องหักค่าใช้จ่ายได้แบบตามจริงเท่านั้น ซึ่งในรูปแบบบริษัท (นิติบุคคล) จะสามารถใช้ประโยชน์จากต้นทุนได้มากกว่าบุคคลธรรมดา ที่มีข้อจำกัดในเรื่องของประเภทเงินได้ นอกจากนี้ยังมีเพดานภาษีเพียงแค่ 15-20% เท่านั้น
อ่านรายละเอียด จดทะเบียนบริษัทประหยัุดภาษีจริงไหม? เพิ่มเติ

โครงสร้างบริษัท
โครงสร้างบริษัท หลักๆ ประกอบไปด้วย กรรมการ และ ผู้ถือหุ้น ในส่วนของ ผู้ถือหุ้น หมายถึง เจ้าของธุรกิจ ซึ่งทางกฎหมายได้กำหนดเอาไว้ว่า ก่อนจดทะเบียนบริษัทจะต้องมีผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 2 ค
เข้าใจเรื่องทุน จดทะเบียนบริษัท
ทุนจดทะเบียนบริษัท คือ เงินที่ผู้เริ่มก่อการหรือผู้ถือหุ้นใช้ในการเริ่มต้นทำธุรกิจ ซึ่งกำหนดไว้ว่าจะต้องมีราคาไม่ต่ำกว่า 5 บาทต่อหุ้น เมื่อกฎหมายกำหนดให้การจดทะเบียนบริษัทต้องมีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป
รู้รายละเอียดเกี่ยวกับการ จดทะเบียนบริษัท มากขึ้


ค่าใช้จ่ายแฝง

เช่น การจัดทำเอกสารบัญชีและภาษี เอกสารรายได้ เอกสารค่าใช้จ่าย ฯลฯ ซึ่งถ้าหากไม่มีการเตรียมตัวให้ดี อาจทำให้มีค่าใช้จ่ายแฝงตามมาภายหลังจำนวนมาก


สรุปเรื่องควรรู้ก่อน จดทะเบียนบริษัท กับเรานรินทร์ทอง

เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้จะเห็นว่า การจดทะเบียนบริษัท เพื่อเปลี่ยนจากบุคคลธรรมดา มาอยู่ในรูปแบบบริษัทจำกัด (นิติบุคคล) มีข้อดีในหลายๆ ด้าน หากคุณพบว่า บริษัทของคุณเริ่มมีต้นทุน ค่าใช้จ่าย และมีแนวทางการสร้างรายได้ที่ชัดเจนมากขึ้น พอที่จะเริ่มวางแผนโครงสร้างได้ นั่นเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าคุณสามารถเริ่มต้น จดทะเบียนบริษัท ได้แล้ว แต่ก็อย่าลืมศึกษาข้อมูลให้ละเอียด เพราะการวางแผนก่อนจดทะเบียนบริษัทถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก
ซึ่งการเลือกสำนักงานบัญชีที่ดี ถือเป็นอีกส่วนสำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างมั่นคง ขอแนะนำ [url=https://www.narinthong.com/] บริษัท นรินทร์ทอง จำกั
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : [url=https://www.facebook.com/NarinthongAccounting/NarinthongOfficial]NarinthongOfficial

E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339




GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ