Advertisement
โรคกระเพาะ
เวลาพักกลางวันมาถึงแล้ว แม้จะชวนเพื่อน ๆ ร่วมงานไปกินข้าว ก็เหมือนกับไม่มีใครอยากลุก หันไปทางซ้าย หัวหน้าก็สนใจกับงานตรงหน้า ไม่กล้าเรียก มองทางขวาเพื่อนร่วมงานก็กำลังเครียดกับเอกสารสารพันบนโต๊ะ สรุปว่าไม่มีใครไปกินข้าวเลยหรอ? นี่หรือเปล่าที่ทำให้คนทั้ง 2 บ่นปวดท้อง ไม่ว่าจะก่อนกิน หรือหลังกิน
สาเหตุของการเกิด
โรคกระเพาะสาเหตุตัวการสำคัญที่ทำให้เกิ
โรคกระเพาะ[/url]คือ "เชื้อโรค" ที่ชื่อว่า เอช.ไพโลไร (Helicobacter pylori)* มันเป็นแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร มันจะอยู่ภายในกระเพาะอาหารของผู้ป่วยไปตลอดชีวิต โดยจะอยู่บริเวณด้านล่างของกระเพาะอาหาร โดยเชื้อนี้จะไปช่วยเร่งการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในกระเพาะอาหาร ทำให้กรดถูกขับออกมามากขึ้น จนเกิดการอักเสบในเยื่อบุกระเพาะ นำไปสู่การเกิดอาการเลือดออกในกระเพาะอาหาร และลำไส้ส่วนบนนั่นเอง
ปวดอาจจะจุกแน่นท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่ เวลาท้องว่าง หรือเวลาหิว แต่ช่วยลดได้ด้วยการทานอาหารหรือยาลดกรด แต่ในบางคนจะยิ่งปวดมากขึ้นหลังรับประทานอาหาร โดยเฉพาะทานอาหารตรงรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด มักปวดแบบเป็น ๆ หาย ๆ มานานแรมปี โดยมีช่วงเว้นที่ปลอดอาการค่อนข้างนาน เช่น ปวดอยู่ 1-2 สัปดาห์ และอาการหมดไปหลายๆ เดือน จึงเริ่มปวดอีก ปวดแน่นท้องกลางดึกหลังจากหลับไปแล้ว
บางกรณีอาจมีอาการกำเริบเวลากินยาแอสไพริน ยาแก้ปวดข้อ ดื่มแอลกอฮอล์ กาแฟ ของมันๆ ของหวานๆ ของทานที่ย่อยยาก หรือแสดงในช่วงที่กินอาหารผิดเวลาหรือปล่อยให้หิวนานๆ หรือเวลามีความเครียด ทั้งนี้ บางกรณีจะไม่มีอาการปวดท้อง แต่จะมีอาการแน่นท้อง หรือรู้สึกมวนในท้อง มักจะเป็นตรงใต้ลิ้นปี่ หรือกลางท้องรอบสะดือ มักมีอาการท้องอืดผสมด้วย โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหารท้องจะอืดขึ้นชัดเจน มีลมมากในท้อง ท้องร้องโกรกกราก ต้องเรอหรือผายลมจะดีขึ้น อาจมีคลื่นไส้อาเจียนผสมด้วย โดยเฉพาะหลังอาหารแต่ละมื้อ หรือช่วงเช้ามืดผู้ติดเชื้ออาจมีอาการอิ่มง่ายกว่าปกติ ทำให้กินได้ไม่มาก และน้ำหนักลดลงบ้างเล็กน้อย นอกจากนี้ แม้บางรายจะมีอาการเรื้อรังเป็นปี แต่สุขภาพโดยทั่วไปจะไม่ทรุดโทรม น้ำหนักตัวไม่ลด ไม่มีภาวะซีด แต่ในบางคนอาจพบภาวะแทรกซ้อน เช่น มีอาการเลือดออกในกระเพาะอาหาร ทำให้ผู้ป่วยอ้วกเป็นเลือด ถ่ายเหลวสีดำเหนียวคล้ายน้ำมันดิน หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ
รักษาโรคกระเพาะ สมุนไพรรักษาโรคกระเพาะ
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง :
[url]https://herbsgood224.blogspot.com[/url]
Tags : สมุุนไพรรักษาโรคกระเพาะ