กล้องสำรวจวิศวกรรม กล้องวัดมุม สำรวจธรณีทุกขนาด

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กล้องสำรวจวิศวกรรม กล้องวัดมุม สำรวจธรณีทุกขนาด  (อ่าน 41 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
nitigorn20
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 20426


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: พฤษภาคม 19, 2017, 03:15:22 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

กล้องสำรวจมือสอกล้องวัดมุมดิจิตอล ยี่ห้อ PENTAX ETH-502

ขาตั้งกล้องวัดมุม และ Total Station 
รายละเอียดทางเทคนิค
-  ขาตั้งทาจากวัสดุอลูมิเนียมคุณภาพสูง แข็งแรง
- มีสายสะพายสะดวกในการหิ้วไปใช้งาน
กล้องวัดมุม NIKON NT-2BD (มือสอง)

ระบบกล้องเล็งเห็นภาพ ตั้งตรง
กล้องกำลังขยาย 25 เท่า
เลนส์กล้อง ความกว้าง 36 มม.
ภาพที่เห็นในระยะ 100 ม.
ขนาดกว้าง 2.3 ม.
ภาพที่เห็นชัดใกล้สุด 1.3 ม.
อ่านค่ามุมราบ และมุมดิ่ง ได้ละเอียด 20 พิลิปดา
ความคลาดเคลื่อนในการวัดมุม (Accuracy )+/- 20 พิลิปดา
กล้องส่องหมุดฐาน มีกำลังขยาย 3 เท่า
ธรณีวิทยา เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาองค์ประกอบ โครงสร้างเเละกระบวนการตามธรรมชาติของโลก ตลอดจนผลอันสืบเนื่องมาจากกระบวนการที่เกิดขึ้น รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาจากภาษากรีกว่า Geos ซึ่งแปลว่าโลก และ Logi หรือ Logus ซึ่งหมายถึงวิทยาศาสตร์ ดังนั้นธรณวิทยาจึงหมายถึงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโลกพิภพหรือโลกมนุษย์ (planet earth)
ส่วนคำว่าธรณีศาสตร์ (Earth Sciences) มักจะใช้กันอย่างผิดๆ ซึ่งความจริงมีความหมายกว้างกว่าธรณีวิทยามาก เพราะหมายถึงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโลก ซึ่งรวบรวมสรรพวิทยาและเนื้อหาครอบคลุมถึงเคมีของดิน ฯ ซึ่งไม่ใช่ส่วนของธรณีวิทยาจริงๆ หรืออาจกล่าวได้ว่า เนื้อแท้ของธรณีวิทยานั้นศึกษา วัสดุ (material) ของโลก
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าธรณีวิทยานั้นเน้นหนักและเกี่ยวข้องกับสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ (natural environment) อันเป็นสภาวะแวดล้อมหนึ่งในอีกหลายสภาพแวดล้อม อันประกอบด้วย

  • ชีวภาค (Biosphere หรือ Biospheric realm) อันได้แก่ อาณาจักรส่วนที่เป็นชีวิต เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นต้น

    การสำรวจนั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อการทราบทิศทาง หรือกำหนดสูงโดยขึ้อยู่กับการสำรวจแต่ละชนิด ซึ่งมีความต้องการข้อมูลที่แตกต่างกันออกไป การสำรวจนั้นสามารถแบ่งออกต่ามลักษณะการใช้งานดังนี้

  • การสำรวจภูมิประเทศ :การสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งต่างๆบนพื้นผิวโลก ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจะนำมาเขียนแผนภูมิประเทศ
  • การสำรวจเหมืองแร่ : การสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งจุดบังคับต่างๆเพื่อเป็นประโยชน์ในงานธรณีวิทยาและการทำเหมือง
GPS ย่อมาจากคำว่า Global Positioning System คือระบบนำทางโดยอาศัยการระบุพิกัด ตำแหน่งต่างๆ ที่อยู่บนโลกจากสัญญาณดาวเทียม

การกำหนดตำแหน่งด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมระบบ GPS

1. เครื่องรับสัญญาณแบบนำหน (Navigation Receiver)

  • การกำหนดตำแหน่งแบบสัมพัทธ์ (Relative Positioning)

2. เครื่องรับสัญญาณแบบรังวัด (Survey or Geodetic Receiver)

  • การรังวัดแบบจลน์ในทันที (Real Time KinematicSurvey: RTK)
งานสำรวจออกแบบท่าเรือ
- งานสำรวจหยั่งความลึกท้องน้ำ งานสำรวจภูมิประเทศ ดำเนินงานสำรวจหยั่งความลึกท้องน้ำใช้ระบบ Echo Sounding ร่วมกับ DGPSติดตั้งบนเรือโดยทำการบันทึกตำแหน่งพร้อมความลึก ทุกช่วงเวลา 1-5 วินาที พร้อมตั้งสถานีวัดน้ำ จดบันทึกระดับน้ำขึ้น ลง จาก สตาฟเกจที่ติดตั้งไว้ เพื่อใช้เป็นค่าปรับแก้ค่าความลึกจาก Echo Sounding เป็นค่าระดับ รทก.
 
งานสำรวจระบบประปา
- งานสำรวจรูปตัดความลึกน้ำ งานสำรวจภูมิประเทศ ดำเนินงานสำรวจหยั่งความลึกลำน้ำเพื่องานออกแบบโครงสร้างรับท่อหรืองาน Pipe Jacking ด้วยระบบ Echo Sounding + DGPS เขียนแผนที่เส้นชั้นความสูงตลิ่ง เส้นชั้นความลึกท้องน้ำ
งานสำรวจระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
- งานสำรวจภูมิประเทศ งานค้นหา ตรวจสอบพิกัด/ระดับ รทก. หมุดออกงาน ดำเนินงานค้นหา โครงข่ายหมุดพิกัด/ระดับ รทก. ของหน่วยงานราชการ กรมแผนที่ทหาร กรมชลประทาน เพื่อใช้เป็นหมุดโยงยึดค่าพิกัด/ระดับในโครงการ
 


การสำรวจถ่านหินทางธรณีวิทยา
ศึกษาธรณีวิทยาพื้นฐาน (Geologic Base Map)
จากการที่เราทราบว่าถ่านหินมักเกิดกับหินตะกอนยุคต่างๆ เช่น ในเมืองไทยมักเกิดในหินตะกอนยุคเทอร์เชียรี (อายุประมาณ 1.8-65 ล้านปี) เป็นต้น ดังนั้นจึงเริ่มด้วยการเลือกพื้นที่ที่มีสภาพธรณีวิทยาที่เหมาะสมโดยอาศัยแผนที่ธรณีวิทยา ซึ่งจะแสดงบริเวณที่จะพบแอ่งสะสมตัว ของตะกอน หลังจากที่ได้พื้น ที่ที่สนใจแล้ว ก็จะทำการรวบรวมข้อมูลเท่าที่มีอยู่ของพื้นที่นั้น ซึ่งเป็นส่วนสำคัญต่อการเริ่มต้นสำรวจ เป็น อย่างมาก ข้อมูลที่ทำการรวบรวมคือ
- รายงานการสำรวจที่ผ่านมา

การรังวัดปักหมุด (Locating and Surveying)
เมื่อวางแผนสำรวจเสร็จแล้วก็จะส่งชุดปฎิบัติการสนามออกไปยังพื้นที่นั้น โดยช่างรังวัดจะทำการกำหนดหมุดหลักฐาน สร้างวงรอบและ ปักหมุด ตามตำแหน่งต่างๆ ที่ต้องการ เช่น หมุดเจาะระยะแรก ตลอดจนสำรวจเพื่อหาช่องทางที่จะทำถนนและวางแนวต่างๆ ที่จำเป็น
มาตราวัดน้ำหนัก
1 กรัม = 15.432 เกรน 1 เกรน = 0.0648 กรัม
 1 กรัม = 0.0353 ออนซ์ 1 ออนซ์ = 28.35 กรัม
 1 กิโลกรัม = 2.2046 ปอนด์ 1 ปอนด์ = 0.4536 กิโลกรัม
 1000 กิโลกรัม = 0.9842 ตัน 1 ตัน = 1016 กิโลกรัม

 



บริการหลังการขาย ดังนี้

- ศูนย์บริการซ่อม-บำรุงกล้อง



ต้องการติดต่อaddไลน์ของเรา LINE ID: @998-p1


ที่มา : [url=http://pasan-survey.blogspot.com/][url]http://pasan-survey.blogspot.com/
[/url]

Tags : กล้องวัดมุมดิจิตอล,กล้องวัดมุม,ขายกล้องวัดมุม



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ