นิติปรัชญา ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: นิติปรัชญา ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์  (อ่าน 20 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
attorney285
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41755


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: เมษายน 02, 2018, 01:09:04 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

นิติปรัชญา ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์
 


ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_824268_th_4532225

นิติปรัชญา ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์
ผู้แต่ง : ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์ แก้ไขโดย กิตติศักดิ์ ปรกติ
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 15 : ตุลาคม 2560
จำนวนหน้า: 400 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786168139127
 
วิชานิติปรัชญาเป็นวิชาที่มีความสำคัญในการทำความเข้าใจเชิงปรัชญาและประวัติศาสตร์ทางวิชาการของกฎหมาย เป็นรากฐานสำคัญของการศึกษาวิชานิติศาสตร์ หนังสือนิติปรัชญาของท่านศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์ เป็นตำรานิติศาสตร์ที่ทรงคุณค่าทางวิชาการและเป็นประโยชน์แก่การศึกษาค้นคว้าสำหรับผู้มีจิตใจใฝ่รู้และนักศึกษากฎหมาย ประกอบด้วย ภาค 1 บทนำทางทฤษฎี ว่าด้วย การแบ่งแยกศาสตร์ออกเป็นสาขาต่าง ๆ วิชานิติศาสตร์ และวิชานิติปรัชญา ภาค 2 บทนำทางประวัติศาสตร์ ความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดสมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ ความคิดกฎหมายธรรมชาติสมัยใหม่ ความคิดสำนักประวัติศาสตร์ ความคิดสำนักกฎหมายบ้านเมือง และแนวความคิดคัดค้านสำนักกฎหมายบ้านเมือง และภาค 3 ปัญหาพื้นฐานบางประการเกี่ยวกับวิวัฒนาการของกฎหมายและความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศีลธรรมและจารีตประเพณี กฎหมายคืออะไรในแง่ของนิติปรัชญา และหลักการของวิชาชีพนักกฎหมาย: หลักความยุติธรรม
 
สารบัญ
 
ภาค1 บทนำทางทฤษฏี
 
 บทที่1 การแบ่งแยกศาสตร์ออกเป็นสาขาต่างๆ
ข้อความคิดว่าด้วยศาสตร์
การแบ่งแยกศาสตร์ออกเป็นสาขาต่างๆ
ข้อความคิดว่าด้วยศาสตร์เฉพาะกับศาสตร์ทั่วไปหรือปรัชญา
ศาสตร์เฉพาะ
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
ศาสตร์ทางวัฒนธรรม
สังคมศาสตร์
มนุษย์ศาสตร์
ศาสตร์สากลหรือปรัชญา
อภิปรัชญา
ญาณวิทยา
จริยศาสตร์
สุนทรียศาสตร์
ปรัชญาเฉพาะ
ลักษณะพิเศษและภารกิจของวิชาปรัชญา
การแบ่งแยกศาสตร์ด้วยวิธีต่างๆ
 บทที่2 วิชานิติศาสตร์
 การแบ่งสาขาในวิชานิติศาสตร์
 วิชานิติศาสตร์โดยแท้
 วิชานิติศาสตร์ทางข้อเท็จจริง
 ประวัติศาสตร์กฏหมาย
 ประวัติศาสตร์หลักกฏหมาย
 ประวัติศาสตร์สากลของกฏหมาย
 ประวัติศาสตร์กฏหมายไทย
 ภาคกฏหมายไทยดั้งเดิม
 ภาคกฏหมายไทยสมัยใหม่
 สังคมวิทยากฏหมาย
 วิชานิศาสตร์ทางคุณค่า
 วิชากฏหมายเปรียบเทียบ
 ประโยชน์ของการศึกษากฏหมายเปรียบเทียบ
 วิชาบัญญัติ
 บที่3 วิชานิติปรัชญา
 นิติปรัชญาคืออะไร
อภิปรัชญากฏหมาย
ญาณวิทยากฏหมาย
จริยศาสตร์กฏหมาย
นิติปรัชญา
นิติปรัชญาเป็นปรัชญา หรือเป็นนิติศาสตร์
นิติปรัชญา : พิจารณาตามระดับความคิดในทางนิติศาตร์
นิติปรัชญากับ Jurisprudence ของอังกฤษ
ความหมายของคำว่า Jurisprudence
ทฤษฏีกฏหมายของ John Austin
อิทธิพลของ John Austin ในประเทศอะเทศอังกฤษ
อิทธิพลของ John Austin ในประเทศไทย
 
 ภาค 2 บทนำทางประวัติศาสตร์
 ความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ความผิด
 ทำไมจึงศึกษาเฉพาะแต่ความคิดของตะวันตก
 
บทที่ 4 สมัยโบราณ
ความสำคัญของกรึก
ความคิดเกี่ยวกับกฏหมายและความยุฒิธรรมในนิยายปรับปรา
โซลอนและการปกครองโดยกฏความสมดุล
 ละครโศกนาฏกรมมเรื่องแอนติโกนี
 ความคิดทางปรัญญาในระยะก่อตัว
โซฟิสต์
Protagoras :
Callicles
Thrasymachus
โสกราตีส
ทฤษฏีความรู้ของโสกราตีส
จริยศาสตร์ของโสกราตีส
สถานะของโสกราตีสในประวัติศาสตร์
พลาโต้
ทฤษฏีความรู้ของพลาโต้
คำสอนว่าด้วย "แบบ" ของพลาโต้
ปรัชญาว่าด้วยธรรมชาติ
คำสอนว่าด้วยจิตใจมนุษย์
คำสอนว่าด้วยการเมืองและรัฐ
ปรัชญากฏหมายของพลาโต้
สถานะของพลาโต้ในทางประวัติศาสตร์
อริสโตเติ้ล
อริสโตเติ้ลวิจารณ์พลาโต
คำสอนว่าด้วยวิวัฒนาการ แบ (From) Nature , Telos
รูปแบบการปกครองและการเปลี่ยนแปลงของการปกครอง
ความยุติธรรมตามธรรมชาติและตามที่มนุษย์สมมุติขึ้น
ความยุติธรรมในการแบ่งสรรปันส่วนและในการแลกเปลี่ยนทดแทน
มนุษย์เป็น Social Being และหลักกฏหมายเป็นใหญ่
กฏหมายและหลักความเป็นธรรม
สโตอิค
Epicureanism และ Stoicism
ซิเซโรสั่งซื้อได้ที่ www.attorney285.co.th
นิติศาสตร์โรมัน
 
 บทที่5 สมัยกลาง
 สภาพการณ์ทั่วไปในสมัยกลาง
 ความคิดและความเชื่อพื้นฐานของศาสนาคริสต์
 อิทธิพลทางความคิดของศาสนาคริสต์
 ทัศนะของคริสต์ต่อกฏหมาย
การนับถือ Authority ในสมัยกลาง
 หลักเอกภาพและหลักกฏหมายเป็นสิ่งสูงสุด
 นักบุญออกัสติน
 นักบุญโทมัส อไควนัส
 การตกสู่ห้วงบาปของมนุษย์ (The Fall)
 การแบ่งกฏหมายออกเป็น 4 ประเภท
 กฏหมายนิรันดร
 กฏหมายธรรมชาติ
 กฏหมายศักดิ์สิทธิ์
 กฏหมายมนุษย์
 สรุปและประเมินค่า
 
 บทที่6 สมัยใหม่ : รัฐบาลสมัยใหม่และกฏหมายสมัยใหม่
 สภาพการณ์ทั่วไปในสมัยใหม่
 การอนุมัติขึ้นของรัฐบาลสมัยใหม่
การยกย่องอำนาจรัฐของเคียเวลลี
ความคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของ ฌอง โบแดง
 ลักษณะพิเศษของรัฐสมัยใหม่
 ชนชั้นกลางและความคิดเสรีนิยม
 กฏหมายสมัยใหม่
ลักษณะสำคัญของกฏหมายสมัยใหม่
 
 บทที่ 7 ความคิดกฏหมายธรรมชาติสมัยใหม่ 
ข้อความเบื้อต้น
ยุคแห่งการจัดระบบ (Systematiker)
 ฮูโก โกรซิอุส (Hugo Grotius)
 โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
 ซามูเอล ปูเฟนดอร์ฟ (Samuel Pufendorf)
ยุควิเคราะห์
จอห์น ล็อค (John locke)
มองเดสกิเออร์ (Montesquieu)
คริสเตียน โทมาซิอุส (Christian Thomasius)
ฌอง ชัค รุสโซ (Jean Jacques Rousseau)
ยุควิเคราะห์
 
 บทที่8 ความคิดสำนักประวัติศาสตร์
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
สาระสำคัญของความคิดสำนักประวัติศาสตร์
ข้อเสนอของสำนักประวัติศาสตร์
ทฤษฎีกฏหมาย
ทฤษฎีวิวัฒนาการของกฎหมาย
ทฤษฎีว่าด้วยนิติศาสตร์
ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับทฤษฎีนิติบัญญัติ
 
 บทที่9 ความคิดสำนักกฏหมายบ้านเมือง
 ภูมิหลังทางความคิด
 สำนักกฏหมายบ้านเมืองในฝรั่งเศส
 สำนักกฏหมายบ้านเมืองในเยอรมัน
 ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับ Lehal Positivism
 
 บทที่10 แนวความคิดคัดค้านสำนักกฏหมายบ้านเมือง
 แนวความคิดคัดค้านกฏหมายบ้านเมืองในฝรั่งเศส
 Francois Geny
 Leon Duguit
 แนวความคิดคัดค้านสำนักกฏหมายบ้านเมืองในเยอรมัน
 Rudolf von Jhering
 Eugen EhrLich
 Free Law Movement
 แนวความคิดคัดค้านสำนักกฏหมายบ้านเมืองในกลุ่มประเทศแองโกล
 อเมริกัน
 Roscoe Pound
 ความโน้มเอียงทางสังคมวิทยากฏหมาย
 Joseph Kohler
 
ภาค3 ปัญหาพื้นฐานบางประการ
 
 บทที่11 วิวัฒนาการของกฏหมาย และความสัมพันธ์ระหว่างกฏหมายกับศีลธรรมและจารีตประเพณี
 วิวัฒนาการของกฏหมาย
การคลี่คลายตัวของกฏเกณฑ์ความประพฤติในสังคม
ศีลธฤรรม-จารีตประเพณี
หลักกฏหมาย
กฏหมายที่บัญญัติขึ้น
 รูปแบบของกฏหมายที่ปรากฏตัวในสังคม
 ของสังเกตจากศึกษาวิวัฒนาการของกฏหมาย
 ความสัมพันธ์ระหว่างกฏหมายกับศีลธรรมและจารีตประเพณี
 การคลี่คลายของกฏหมายจากจารีตประเพณีเเละศีลธรรม
 
บทที 12 กฏหมายคืออะไร ในแง่ของนิติปรัชญา
 กฏหมายเป็นคำสั่งของรัฏฐาธิปัตย์จริงหรือ
 สำนักกฏหมายบ้านเมือง
 สำนักธรรมนิยม
 สำนักประวัติศาสตร์
 เปรียบเทียบความคิดของสำนักธรรมนิยมกับสำนักประวัติศาสตร์
 กฏหมายเกิดขึ้นอย่างไร
 
 บที่ที่13 หลักการของวิชาชีพนักกฏหมาย : หลักความยุติธรรม
 กฏหหมายกับความยุติธรรม
 หลักการของวิชานิติศาสตร์คืออะไร
 ลักษณะของความยุติธรรม
 หลักผิดชอบ-ชั่วดี มีอยู่อย่างไร
 ลักษณะของนักวิชาชีพกฏหมายที่ดี
 หลักการของวิชาชีพนักกฏหมายคือหลักแห่งความยุติธรรม
 
ภาคผนวก 
 ทฤษฎีกฏหมายสามชั้นของ ดร.ปรีดี โดย สมยส เชื้อไทย
 ทฤษฎีกฏหมายสามชั้นมองในแง่กฏหมายอาญา โดย แสวง บุญเฉลิมวิภาส
 ตำราและเอกสารแนะนำ


ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "[url]http://www.attorney285.com/product_824268_th[/url]​

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 
**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ