Advertisement
ระบบทำความเย็นและหลักการทำงานของระบบทำความเย็นระบบการทำความเย็นมีด้วยกันมากมายหลายแบบ บางแบบใช้งานแล้วให้ประสิทธิภาพในการทำความเย็นสูงก็จะถูกพัฒนาและปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อยๆ บางระบบถ้าใช้งานแล้วประสิทธิภาพในการทำความเย็นต่ำก็จะถูกเลิกใช้ไป ในที่นี้จะกล่าวถึงระบบการทำความเย็นและหลักการทำงานของระบบทำความเย็นดังนี้ ดูเพิ่มเติมคลิก
1.1 ระบบทำความเย็นโดยการทำให้สารทำความเย็นระเหย
1.2 ระบบทำความเย็นแบบอัดไอ
1.3 การทำความเย็นโดยใช้น้ำแข็ง
1.8 วงจรการทำความเย็นแบบแอบซอร์ปชัน
AIR COOLED CONDENSING UNIT WITH BITZER COMPRESSOR SEMI HERMETIC
เครื่องทำความเย็น /Condensing Unit บิทเซอร์คอนเดนซิ่งยูนิต เครื่องทำความเย็น
แบบคอมเพรสเซอร์กึ่งปิด ชนิดระบายความร้อนด้วยลมแบบมีมอเตอร์พัดลม ใช้งาน LBP MBP นำเข้าจากเยอรมัน
- L161/2FES-2 การใช้งาน LBP 2 HP 2700 WATT 9,215 BTU/HR
- L182A/2FES-3 การใช้งาน MBP 3 HP 2400 WATT 8,191 BTU/HR
- L181/2EES-2 การใช้งาน LBP 2 HP 3150 WATT 10,751 BTU/HR
- L182A/2EES- 3 การใช้งาน MBP 3 HP 2640 WATT 9,010 BTU/HR
- L302A/6HE-28 การใช้งาน LBP 25 HP 31700 WATT 108,192 BTU/HR
- L302B/4GE-30 การใช้งาน MBP 30 HP 24750 WATT 84,472 BTU/HR
- L242C/4GE-23 การใช้งาน LBP 20 HP 24200 WATT 82,595 BTU/HR
- L242C/4GE-20 การใช้งาน MBP 20 HP 16,510 WATT 56,348 BTU/HR
- L242A/4VES -10 การใช้งาน MBP 10 HP 9,660 WATT 32,969 BTU/HR
- L242B/4TES-12 การใช้งาน MBP 12 HP 11,730 WATT 40,034 BTU/HR
- 2XL302/FE-60 การใช้งาน MBP 50 HP 44700 WATT 152,561 BTU/HR
AIR COOLED CONDENSING UNIT WITH BITZER OPEN TYPE COMPRESSORS ( LESS MOTOR)
WATER COOLED CONDENSING UNIT WITH BITZER OPEN TYPE COMPERESSORS (LESS MOTOR)
L30/II ขนาดมู่เล่ย์ 130 แรงม้า 0.5 HP 445 WATT 1,519 BTU / HP
L30/II ขนาดมู่เล่ย์ 130 แรงม้า 0.5 HP 445 WATT 1,519 BTU / HP
L30/II ขนาดมู่เลย์ 150 แรงม้า 1.5 HP 1100 WATT 3754 BTU /HP
ก่อนเปิดร้านกุลธร คุณสุเมธ ทำงานขายอะไหล่เครื่องเย็น และมอเตอร์ไซค์ อยู่ที่ร้านในเยาวราช มีความรู้ในเรื่องเครื่องกลดีเพราะเคยฝึกงานในโรงกลึงมาก่อน เมื่ออายุราว 27 ปี ตัดสินใจที่จะมีกิจการของตัวเอง จัดตั้ง กุลธรเอนจิเนียริ่ง ในปี 2508
เมื่อตั้งร้านใหม่ๆ ตอนปี 2508-2510 เป็นยุคที่เริ่มมีเครื่องปรับอากาศและตู้เย็นมาจากเมืองนอก ส่วนใหญ่จะมาจากทหารอเมริกันช่วงสงครามเวียดนาม เราจึงมีอะไหล่เพื่อซ่อมสินค้าเหล่านั้น ต่อมาจึงมีคนไทยเริ่มทำตู้แช่สเตนเลส โดยใช้คอมเพรสเซอร์เทคัมเช่จากสหรัฐอเมริกา กุลธรได้รับแต่งตั้งเป็น "ตัวแทนจำหน่ายแต่เพียงผู้เดียวในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์" ในปี 2510
หลังจากเปิดร้านได้ราวๆ แปดปี จำเป็นต้องมีพื้นที่เก็บสินค้าเพิ่มขึ้น จึงได้สร้าง อาคารกุลธร ขึ้นที่ฝั่งตรงกันข้าม มีป้ายโฆษณาสินค้าอยู่หลายจุดทั้งบนดาดฟ้า หน้าร้าน และด้านข้างที่ติดปั๊มน้ำมัน ภาพร้านกุลธร ปรากฏในภาพยนตร์เจมส์บอนด์ตอนหนึ่ง ที่มาถ่ายทำที่กรุงเทพฯ ในปี 2518
อาคารหลังแรกของกุลธรเคอร์บี้ ปี 2524
เมื่อวางรากฐานการขายได้อย่างมั่นคงแล้ว กลุ่มสิมะกุลธร ได้รับความไว้วางใจจากรัฐบาล พลเอกเปรม จัดตั้ง โรงงานผลิตคอมเพรสเซอร์แห่งประเทศไทย โดยร่วมทุนกับ บริษัท Kirby Refrigeration จากออสเตรเลีย ภายใต้การดูแลของ Tecumseh USA คุณสุเมธ คุณสุรพร มาตรวจงานก่อสร้าง อาคารหลังแรกของ กุลธรเคอร์บี้ราวปี 2524 นับเป็นย่างก้าวสำคัญของอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องทำความเย็นของไทย
คุณสุรพร สิมะกุลธรถ่ายภาพกับคอมเพรสเซอร์ตัวที่ หนึ่งล้าน
กุลธรเคอร์บี้ เป็นโรงงานผลิตคอมเพรสเซอร์แห่งแรกในประเทศไทย เริ่มเปิดดำเนินการผลิตเมื่อปี 2524 ในระยะแรกผลิตเพื่อตลาดตู้เย็นในประเทศและส่งออกไปให้หุ้นส่วนใหญ่ในออสเตรเลีย หลังจากเปิดดำเนินการได้ห้าปี ผลิตครบ หนึ่งล้านตัว ในปี 2529