กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 4 เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 4 เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์  (อ่าน 7 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
attorney285
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41755


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: ตุลาคม 12, 2018, 05:40:30 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 4 เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571709_th_2411460กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 4 เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์
ผู้แต่ง : เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 2 : กันยายน 2557
จำนวนหน้า: 352 หน้า
ขนาด : 18.5x26
รูปแบบ : ปกอ่อน
สารบัญ
บทที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่มีรากฐานมาจากความผิดฐานลักทรัพย์
  ตอนที่  1  ความผิดฐาน  “ชิงทรัพย์”  (มาตรา  339)
  เป็นการลักทรัพย์
– ลักทรัพย์  คือ  การเข้าครอบครองทรัพย์ของผู้อื่น  โดยการแย่งการครอบครอง
– หากการกระทำไม่เป็น  “ลักทรัพย์”  ก็ไม่ผิดฐานชิงทรัพย์ 
แต่อาจเป็นความผิดต่อเสรีภาพ
– หากทรัพย์เป็นของผู้กระทำเอง  การกระทำไม่เป็นลักทรัพย์ 
จึงไม่เป็นชิงทรัพย์
– เจ้าของรวมเอาทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์รวมไป 
โดยเจ้าของรวมคนอื่นไม่ได้อนุญาต  ไม่เป็นลักทรัพย์
– หากเป็นการทำร้ายหรือขู่เข็ญฯ  ให้ส่งทรัพย์ให้เพื่อนำมาทำลาย 
ก็ไม่เป็นลักทรัพย์  จึงไม่เป็นชิงทรัพย์
– หากการกระทำเป็นฉ้อโกง  การใช้กำลังประทุษร้าย
เพื่อยึดเอาทรัพย์นั้นไว้  ก็ไม่เป็นชิงทรัพย์
– หากการกระทำเป็นรับของโจร  การใช้กำลังประทุษร้าย
เพื่อยึดเอาทรัพย์นั้นไว้  ก็ไม่เป็นชิงทรัพย์
– การลักทรัพย์จะเป็นชิงทรัพย์จะต้องมีการ “ใช้กำลังประทุษร้าย”
หรือ  “ขู่เข็ญว่าทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย”  เพื่อ  ฯลฯ
– ตัวอย่างอื่น ๆ ของการชิงทรัพย์
– “พยายามชิงทรัพย์”  คือ  พยายามลักทรัพย์โดยใช้กำลังประทุษร้าย 
หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย
– หากการลักทรัพย์ถึงขั้นที่เป็น  “ความผิดสำเร็จ”  แล้ว
การกระทำจะเป็นพยายามชิงทรัพย์ไม่ได้
– หากการกระทำไม่ใช่การใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ
ก็ไม่ใช่การชิงทรัพย์  โดยเป็นเพียงลักทรัพย์เท่านั้น
  “ใช้กำลังประทุษร้าย ”
– ความหมายของ  “ใช้กำลังประทุษร้าย ”
– ตัวอย่างคำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าเป็นการประทุษร้ายแก่กาย
หรือจิตใจของบุคคล
– คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าเป็นการใช้กำลังประทุษร้าย 
– ตามมาตรา  138  วรรคสอง
– การกระชากหรือแย่งทรัพย์  เช่นกระชากสร้อยคอ  เป็นการใช้กำลัง
ประทุษร้ายหรือไม่ 
– การกระทำต่อเนื้อตัวหรือกายของผู้เสียหาย  นอกเหนือจากการกระชากสร้อยคอ 
เป็นการใช้กำลังประทุษร้าย
– การแกะสร้อยที่ข้อมือผู้เสียหาย  แล้วพาหนีไปต่อหน้า  เป็นวิ่งราวทรัพย์
ไม่ใช่การชิงทรัพย์  เพราะไม่มีการใช้กำลังประทุษร้าย 
– หากการกระทำต่อทรัพย์เป็นการกระทำต่อเนื้อตัวหรือกายด้วย
ก็เป็นการใช้กำลังประทุษร้าย 
– ตัวอย่างอื่น ๆ ของการใช้กำลังประทุษร้าย 
– การประทุษร้ายแก่กายหรือจิตใจของบุคคล “ด้วยวิธีอื่นใด”
– การกระทำใด ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดอยู่ในภาวะที่
ไม่สามารถขัดขืนได้  ไม่ว่าโดยใช้ยาทำให้มึนเมา  สะกดจิต  หรือใช้วิธี
อื่นใดอันคล้ายคลึงกัน
– การกระทำต่อทรัพย์  ไม่เป็นการใช้กำลังประทุษร้าย 
– การกระทำต่อเสรีภาพ ไม่เป็นการใช้กำลังประทุษร้าย 
  “ขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย”
– ความหมายของคำว่า “ในทันใดนั้น”
– การขู่เข็ญฯ  จะทำด้วยวาจา  หรือกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
ซึ่งแสดงออกให้ผู้ถูกขู่เข็ญทราบว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย 
– หากชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์แล้วคุมตัวเจ้าทรัพย์ไปด้วยเป็น
ตัวประกันจะถือว่าเป็นการขู่เข็ญเจ้าทรัพย์อยู่ตลอดเวลาหรือไม่
– หากไม่ใช่เป็นการขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย 
ก็ไม่ใช่ชิงทรัพย์ 
– ผู้ที่ใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ  และผู้ลักทรัพย์ต้องเป็นคนเดียวกัน 
หรือเป็นผู้ร่วมกระทำความผิดด้วยกัน
– ต้องเป็นการใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ  “ผู้ถูกลักทรัพย์  หรือ
บุคคลที่สาม”  ไม่ใช่ตัวผู้กระทำความผิดเอง
– การใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ  บุคคลหนึ่ง  แล้วร้องตะโกนว่า
ทำไปเพื่อต้องการทรัพย์  แม้จะมิได้เจาะจงว่าต้องการทรัพย์จากผู้ใด 
ก็เป็นชิงทรัพย์ได้
– การใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ  ยังต้องไม่  “ขาดตอน”  จากการลักทรัพย์ 
– ถ้ากำลังพาทรัพย์หนีติดต่อกันไป  แม้จะไกลเท่าใด  ก็ไม่น่าจะขาดตอน
– คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่า  การลักทรัพย์ยังไม่  “ขาดตอน”
ดังนั้น    การทำร้ายหรือขู่เข็ญจึง
– แม้ขณะที่คนร้ายทำร้ายหรือขู่เข็ญฯ  คนร้ายจะทิ้งทรัพย์แล้ว
หากการลักทรัพย์ยังไม่ขาดตอน  ก็เป็นชิงทรัพย์ได้
– หากทำร้ายหรือขู่เข็ญฯ  กระทำเมื่อการลักทรัพย์ขาดตอนแล้ว
ผู้กระทำผิดฐานลักทรัพย์กรรมหนึ่ง  และทำร้ายอีกกรรมหนึ่ง 
– หากทำร้ายหรือขู่เข็ญฯ  กระทำในขณะที่การลักทรัพย์
ยังไม่ขาดตอน    เป็นกรณีกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท
– การใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ  ผู้กระทำต้องมีเจตนาธรรมดา
กล่าวคือประสงค์ต่อผล  หรือย่อมเล็งเห็นผล
  ผู้กระทำต้องมีเจตนาพิเศษ  เพื่อ  ฯลฯ  ตามที่ระบุไว้ใน
  มาตรา  339  (1)-(5)  อย่างใดอย่างหนึ่ง  หรือหลายอย่าง
– มาตรา  339  (1)
   เพื่อให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์
   เพื่อให้ความสะดวกแก่การพาทรัพย์นั้นไป
– มาตรา  339  (2)   เพื่อให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น
– มาตรา  339  (3)  เพื่อยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ 
– มาตรา  339  (4)  เพื่อปกปิดการกระทำความผิดนั้น
– มาตรา  339  (5)  เพื่อให้พ้นจากการจับกุม
– การใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ  เพื่อให้พ้นจากการจับกุม  อาจจะ
– กระทำต่อผู้เสียหายที่ถูกลักทรัพย์  หรือ  กระทำต่อบุคคลที่สามก็ได้
  ตัวการในการชิงทรัพย์
– บุคคลสองคนขึ้นไป  จะเป็นตัวการตาม  ป.อ. มาตรา  83  ในการชิงทรัพย์
หรือปล้นทรัพย์ (แล้วแต่กรณี)  จะต้องมีการกระทำร่วมกันและเจตนา
ร่วมกันทั้งในการลักทรัพย์  และในการใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ 
– หากมีการกระทำร่วมกันและเจตนาร่วมกันทั้งในการลักทรัพย์  และในการ
ใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ แล้ว  แม้การใช้กำลังประทุษร้าย  หรือ
ขู่เข็ญฯ  จะกระทำโดยผู้ร่วมกระทำเพียงคนเดียว  ผู้ร่วมกระทำคนอื่น ๆ 
ซึ่งไมได้ลงมือทำร้ายหรือขู่เข็ญฯ ด้วย  ก็เป็นตัวการในการชิงทรัพย์
– เป็นตัวการในการชิงทรัพย์แล้ว  มิได้เป็นตัวการในการฆ่าเจ้าทรัพย์
ซึ่งเกิดขึ้นในภายหลังด้วย  ก็ไม่เป็นตัวการในความผิดฐานชิงทรัพย์
เป็นเหตุให้คนตายตามมาตรา  339  วรรคท้าย
  “เหตุฉกรรจ์”  ของการชิงทรัพย์
– เหตุฉกรรจ์ของการชิงทรัพย์ ตามมาตรา  339  วรรคสอง
– จะผิดมาตรา  339  วรรคสอง  ขณะที่มีการลักทรัพย์ต้องมีเหตุ 
ตามมาตรา  335  แม้ว่าขณะที่ใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ
จะไม่มีเหตุตามมาตรา  335   ก็ตาม
– แม้การชิงทรัพย์ก็จะเป็นการลักทรัพย์ ตามมาตรา  335  ตั้งแต่
สองอนุมาตราขึ้นไป  ผู้กระทำผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 
339  วรรคสองเช่นกัน
– หากการลักทรัพย์ ตามมาตรา  335  เป็นการกระทำในขั้น “พยายามลักทรัพย์”
การใช้กำลังประทุษร้าย หรือการขู่เข็ญฯ  ก็เป็นกรณีพยายายามชิงทรัพย์
ตามมาตรา  339   วรรคสอง ประกอบมาตรา  80
– การกระทำต่อทรัพย์ที่เป็น โค  กระบือ  เครื่องกล  หรือเครื่องจักร
ที่ผู้มีอาชีพกสิกรรมมีไว้สำหรับประกอบกสิกรรม
  “ผลฉกรรจ์”  ของการชิงทรัพย์
– ผลของการกระทำความผิด  ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น (“ผลฉกรรจ์” )
– การชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ตามมาตรา  339   วรรคสาม
– ความหมายของ  “อันตรายแก่กายหรือจิตใจ”
– คำพิพากษาฎีกา  เกี่ยวกับมาตรา  339   วรรคสาม
– “ผู้อื่น”  ตามมาตรา  339   วรรคสาม, สี่, วรรคท้าย  หมายถึง “ผู้อื่น”
ที่มิใช่ผู้กระทำการชิงทรัพย์หรือผู้ที่ร่วมกระทำด้วยกันเอง
– การชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส 
ตามมาตรา  339   วรรคสี่
– การชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย 
ตามมาตรา  339   วรรคท้าย
– กรณี “ความตาย”  เกิดขึ้น  จึงทำให้การกระทำนั้นเป็นชิงทรัพย์
– กรณี “ความตาย”  เกิดขึ้น  หลังการชิงทรัพย์ในตอนแรกได้เกิดขึ้นก่อนแล้ว
– กรณีที่ “ผลของการชิงทรัพย์”  ตามมาตรา  339   วรรคสาม, สี่, วรรคท้าย 
เกิดขึ้นจากการกระทำโดยพลาดตาม  ป.อ.  มาตรา  60
– หากผู้ชิงทรัพย์มีเจตนาฆ่าเจ้าทรัพย์เพื่อความสะดวกในการลักทรัพย์ ฯลฯ
– เจตนาฆ่าเจ้าทรัพย์  อาจเป็นเจตนาฆ่าโดย  “เล็งเห็นผล”  ก็ได้
– หากชิงผู้ชิงทรัพย์คนหนึ่งฆ่าเจ้าทรัพย์ตาย  ขณะที่การร่วมกันชิงทรัพย์ยุติแล้ว
ผู้ร่วมชิงทรัพย์อีกคนหนึ่งไม่ผิดมาตรา  339  วรรคท้ายด้วย
– หากผู้ที่ร่วมในการลักทรัพย์ไม่ได้ร่วมในการใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญฯ 
ก็ไม่ผิดฐานชิงทรัพย์  และไม่ผิดมาตรา  339  วรรคสาม, สี่, วรรคท้าย 
– หากการฆ่าเจ้าทรัพย์เกิดขึ้นเมื่อการลักทรัพย์ “ขาดตอน”  แล้ว
ผู้กระทำก็ไม่ผิดมาตรา  339  วรรคท้าย 
– ผู้ร่วมในการชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์หากไม่มีเจตนาร่วมใน
การฆ่าเจ้าทรัพย์ก็ไม่ผิดฐานฆ่าคนตายตาม  ป.อ. มาตรา 289
– กรณีที่ถือว่าผู้ที่ร่วมชิงทรัพย์  ปล้นทรัพย์ด้วยกัน  มีเจตนาฆ่า  “ผู้อื่น”  ด้วยกัน
– อันตรายแก่กายหรือจิตใจตามมาตรา  339   วรรคสาม  อันตรายสาหัส
ตามวรรคสี่  ความตายตามวรรคท้าย  อาจเป็น  “ผล”  ที่เกิดจาก
การชิงทรัพย์ (สำเร็จ)  หรือการพยายามชิงทรัพย์ก็ได้
– การพยายามชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
รับอันตรายสาหัส  หรือถึงแก่ความตาย  ผู้กระทำระวางโทษ
เพียงสองในสาม
– หากอันตรายแก่กายหรือจิตใจตามมาตรา  339   วรรคสาม 
อันตรายสาหัสตามวรรคสี่  ความตายตามวรรคท้าย   ไม่เกิด
ผู้กระทำก็ไม่ต้องรับโทษหนักตามวรรคนั้น ๆ
– หากการชิงทรัพย์เป็นการลักทรัพย์ ตามมาตรา  335  และการชิงทรัพย์
เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ  เป็นเหตุให้ผู้อื่น
ได้รับอันตรายสาหัส  หรือเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระทำ
ก็ผิดมาตรา  339  วรรคสาม, สี่, วรรคท้าย  (แล้วแต่กรณี)
  มาตรา  340  ตรี
– ชิงทรัพย์โดยมีอาวุธปืนหรือใช้อาวุธปืน
– หากผู้ร่วมในการชิงทรัพย์คนอื่น ๆ  ไม่ได้มีหรือใช้อาวุธปืนด้วย
– ชิงทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะ
– การใช้ยานพาหนะในการชิงทรัพย์จะผิดมาตรา  340  ตรี
การชิงทรัพย์ต้องยังไม่  “ขาดตอน”
– หากการชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายตามมาตรา  339   
วรรคท้าย  ซึ่งมีระวางโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต  หรือ 
การปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายตามมาตรา  340
วรรคท้าย  ซึ่งมีระวางโทษประหารชีวิต  แม้จะมีเหตุตามที่บัญญัติ
ไว้ในมาตรา  340  ตรี  ก็ไม่อาจระวางโทษหนักว่าที่บัญญัติไว้ในมาตรา  339   
วรรคท้าย  หรือ มาตรา  340  วรรคท้าย  (แล้วแต่กรณี)  กึ่งหนึ่งได้
– มาตรา  340  ตรี  เป็น “บทกำหนดโทษ”  ไม่ใช่  “บทเพิ่มโทษ”
– เหตุผลที่ศาลฎีกากล่าวว่า  มาตรา  340  ตรี  ไม่ใช่เรื่องการเพิ่มโทษ
– ร่วมกันชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายโดยการใช้ปืนยิงเจ้าทรัพย์ตาย
  ชิงทรัพย์เป็นพระพุทธรูป  หรือวัตถุในทางศาสนา  มาตรา  339  ทวิ
– ผลของการกระทำความผิดตามาตรา  339  ทวิ  วรรคแรกหรือ
วรรคสอง  ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น
  การพยายามชิงทรัพย์
– หากการกระทำยังไม่ถึงขั้นพยายามลักทรัพย์  ก็ไม่เป็นพยายามชิงทรัพย์
  ตอนที่  2  ความผิดฐาน  “ปล้นทรัพย์”  (มาตรา  340)
  ความหมายของการ “ชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำความผิดด้วยกัน
  ตั้งแต่สามคนขึ้นไป”
– หากบุคคลสามคนร่วมกระทำความผิดด้วยกันเป็นตัวการในการ
ลักทรัพย์แต่ในการทำร้ายหรือขู่เข็ญฯ  มีผู้ร่วมกระทำความผิดด้วยกัน
ไม่ถึงสามคน  ทั้งสามคนก็ไม่ได้กระทำการปล้นทรัพย์
– กรณีที่ถือว่าบุคคลสามคนขึ้นไป  “ชิงทรัพย์โดยร่วมกระทำความผิดด้วยกัน”
– กรณีที่  “ร่วมกระทำความผิดด้วยกัน”  โดยบางคน  “ลงมือ”
กระทำความผิดแต่บางคนเพียงแต่อยู่ในที่เกิดเหตุหรือ 
ในสถานที่ใกล้เคียงในลักษณะ  “แบ่งหน้าที่กันทำ”
– กรณีที่  “ร่วมกระทำความผิดด้วยกัน”  โดยการ  “ลงมือ”
กระทำความผิดด้วยกันทุกคน
– กรณีที่ถือว่าเป็น  “ผู้สนับสนุน”  ในการปล้นทรัพย์เท่านั้น 
แต่ไม่ผิดฐานปล้นทรัพย์ด้วย
– “ผู้ใช้”  ตามมาตรา  84  ในความผิดฐานปล้นทรัพย์
  ปล้นทรัพย์โดยมีอาวุธติดตัว  ใช้ปืนยิง 
  (มาตรา  340  วรรคสอง,สี่  และมาตรา  340  ตรี)
– กรณีปล้นทรัพย์โดยมีอาวุธติดตัว 
– หากทรัพย์ที่ลักคือ “อาวุธ”  แล้วคนร้ายใช้อาวุธนั้นทำร้ายเจ้าทรัพย์
ไม่เป็นปล้นทรัพย์โดยมีอาวุธ
– มีอาวุธติดตัวไปด้วยก่อนลงมือปล้นทรัพย์  แต่ทิ้งอาวุธเสียก่อนลงมือปล้น 
ไม่ใช่ปล้นทรัพย์โดยมีอาวุธ
– ผู้ร่วมกระทำคนหนึ่งมีอาวุธติดตัว  ผู้ร่วมกระทำทุกคนผิด
มาตรา  340  วรรคสอง
  “ผลฉกรรจ์”  ของการปล้นทรัพย์
– มาตรา  340  วรรคสามและวรรคท้าย
– มาตรา  340  วรรคสี่  ปล้นทรัพย์  ได้กระทำโดย  แสดงความทารุณ
จนเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ 
– ปล้นทรัพย์ซึ่งมิได้กระทำโดยทารุณ  แต่เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
แก่กายหรือจิตใจ 
  ปล้นทรัพย์โดยกระทำทรมาน
  ปล้นทรัพย์โดย  “ใช้ปืนยิง”  ใช้วัตถุระเบิด  ( มาตรา  340  วรรคสี่ )
– แม้การปล้นทรัพย์จะสำเร็จ  หากการปล้นทรัพย์ยังไม่  “ขาดตอน”
ถ้ามีการใช้ปืนยิงในระหว่างที่การปล้นทรัพย์นั้นยังไม่  “ขาดตอน” 
ก็ผิดฐานปล้นทรัพย์โดยใช้ปืนยิงเช่นกัน
– หากการใช้ปืนยิงกระทำเมื่อการปล้นทรัพย์  “ขาดตอน”  แล้ว
– ข้อเท็จจริงที่ศาลฎีกาถือว่าการปล้นทรัพย์โดยใช้ปืนยิง  ตามมาตรา  340  วรรคสี่ 
– วิเคราะห์  คำพิพากษาฎีกาที่   7750/2548
– หากระวางโทษจำคุกตลอดชีวิต  หรือประหารชีวิตแล้ว
ก็ระวางโทษหนักกว่าอีกกึ่งหนึ่ง ตามมาตรา  340  ตรี  ไม่ได้
  ถ้าการปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส  (มาตรา  340  วรรคสาม)
  ถ้าการปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย  (มาตรา  340  วรรคท้าย)
– การทำให้ตายจะต้องเกิดขึ้นในระหว่างที่การปล้นทรัพย์นั้นยังไม่ 
 “ขาดตอน”    ด้วย  ผู้กระทำจึงจะผิดมาตรา  340  วรรคท้าย
– ความรับผิดของ  “ผู้ใช้”
– จำเลยลงมือปล้นคนใดคนหนึ่ง  มีเจตนาฆ่าเจ้าทรัพย์ด้วย
– ตัวอย่างคำพิพากษาฎีกาที่ถือว่าจำเลยคนอื่น ๆ  ไม่มีเจตนาฆ่าเจ้าทรัพย์ด้วย
ในการปล้นทรัพย์นั้น
– หากผู้ร่วมในการปล้นทรัพย์มีเจตนาร่วมกันในการฆ่าเจ้าทรัพย์
ก็ผิดฐานร่วมกันฆ่าผู้อื่นด้วย
– หากผู้ฆ่าเป็นพวกปล้นด้วยกัน  จำเลยก็ต้องรับผิดด้วย 
ถ้าเล็งเห็นได้ว่าหากมีผู้ขัดขวางการปล้น  จะต้องใช้อาวุธที่เตรียมมายิงผู้ขัดขวาง
– หากปล้นโดยใช้ปืนยิง  แต่เป็นการยิงเจ้าทรัพย์ถึงแก่ความตาย
ก็เป็นกรณีตาม มาตรา  340  วรรคท้าย  ไม่ใช่วรรคสี่
– หากใช้ปืนยิงพวกปล้นด้วยกันเองตาย   ก็มิใช่กรณี
มาตรา  340  วรรคท้าย  แต่เป็นวรรคสี่
– หากการใช้ปืนยิงเป็นเหตุให้เจ้าทรัพย์ได้รับอันตรายสาหัส 
จะปรับกับมาตรา  340  วรรคสาม หรือวรรคสี่  ก็ได้
– จำเลยไม่ได้ใช้ยานพาหนะในการปล้นทรัพย์  จำเลยก็ไม่ผิด มาตรา  340 ตรี
  ปล้นทรัพย์ที่เป็นพระพุทธรูป  หรือวัตถุในทางศาสนา  มาตรา  340  ทวิ
  มาตรา  340 ตรี
– เหตุผลต่าง ๆ ที่ศาลฎีกาถือว่ามาตรา  340 ตรี  ใช้เฉพาะสำหรับ
จำเลยที่ชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์  “โดยมีหรือใช้อาวุธปืน  หรือ 
วัตถุระเบิด”  หรือ  “ใช้ยานพาหนะ”  เท่านั้น
– คำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับการชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์   
โดยใช้ยานพาหนะตามมาตรา  340 ตรี 
– การปล้นทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะ  จะผิดมาตรา  340 ตรี 
การปล้นทรัพย์นั้น  ต้องยังไม่ขาดตอน
– ชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะ  ซึ่งเป็นความผิดตามมาตรา  340 ตรี 
ไม่ได้หมายความว่าศาลจะต้องริบยานพาหนะนั้นตามมาตรา  33 เสมอไป
– ปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย  ผิดมาตรา  340  วรรคท้าย 
ซึ่งต้องระวางโทษประหารชีวิต  หากการปล้นทรัพย์นั้น  มี  หรือ ใช้  อาวุธปืน 
หรือ โดยใช้ยานพาหนะ  เพื่อกระทำผิด  ฯลฯ  ก็ผิดมาตรา  340 ตรี 
– อุทาหรณ์
บทที่ 2 ความผิดฐานกรรโชก  (มาตรา  337)
  ข่มขืนใจผู้อื่น
  ให้ยอมให้  หรือยอมจะให้
  ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน
  โดยใช้กำลังประทุษร้าย
  ขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายด้วยวิธีใด ๆ ก็ได้
– ตัวอย่าง  อันตรายต่อชื่อเสียง
– อันตรายต่อทั้งชื่อเสียงและทรัพย์สิน
– อันตรายต่อทรัพย์สิน
– หากความจริงไม่มีอันตรายใด ๆ  ต่อชีวิต  ร่างกาย  ฯลฯ  ผู้ถูกขู่เข็ญ
หรือบุคคลที่สาม  แต่ผู้ถูกขู่เข็ญเข้าใจว่ามีอันตรายก็เป็นกรรโชก
– หากความจริงเป็นการขู่เข็ญ  แต่ผู้ขู่เข็ญไม่รู้ว่าเป็นกาขู่เข็ญ
– กรณีที่ไม่เป็นกรรโชก
  ผู้ได้รับประโยชน์อาจเป็น “ผู้ข่มขืนใจ”
– ผู้ที่ได้รับประโยชน์อาจไม่ใช่ผู้ข่มขืนใจ  แต่เป็น  “ผู้อื่น”  ก็ได้
– การใช้กำลังประทุษร้าย  หรือขู่เข็ญฯ  อาจจะกระทำต่อ
(1)  ผู้ถูกข่มขืนใจ  หรือ  ผู้ถูกขู่เข็ญ  หรือ
(2)  บุคคลที่สาม 
– ผู้ที่ได้รับประโยชน์อาจเป็นคนเดียวกับผู้ที่ถูกประทุษร้าย  หรือ
ถูกขู่เข็ญฯ  ก็ได้
– หากใช้กำลังประทุษร้ายตนเอง  หรือขู่ว่าจะทำอันตรายต่อตอเอง
เพื่อข่มขืนใจผู้อื่น  ไม่ใช่การกรรโชก  ตามมาตรา  337
– ผู้ที่ถูกข่มขืนใจต้องเป็น  “ผู้อื่น”  ที่มีตัวตนแน่นอน 
– หากผู้ข่มขืนใจและบุคคลที่สามสมยอมกัน
– ผู้ที่ถูกข่มขืนใจ  คือผู้ที่ยอมให้หรือยอมจะให้ประโยชน์แก่ผู้ข่มขืนใจ 
– การกระทำกรรโชก  “โดยพลาด”
– ขู่เอาทรัพย์โดยอ้างว่าจะจับ  จะฟ้อง  จะต้องติดคุก
– ผู้ที่ถูกยิงพูดขู่ผู้ยิงว่า  หากไม่ให้เงินจะส่งตัวให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดำเนินคดี
– เจ้าทรัพย์พูดขู่ผู้ร้ายที่ลักทรัพย์ไปว่า  ถ้าไม่คืนทรัพย์และ
ใช้ค่าเสียหายให้แล้วจะฟ้องให้ติดคุก  ผู้ร้ายมีความกลัว
จึงคืนทรัพย์และใช้ค่าเสียหายให้  ไม่ผิดฐานกรรโชก
– แม้ผู้ถูกข่มขืนใจจะมิใช่คนร้าย  แต่ถ้าผู้ข่มขืนใจเข้าใจว่าเป็นคนร้าย
ผู้ข่มขืนใจก็ไม่ผิดฐานกรรโชก 
– คู่กรณีโต้เถียงกรรมสิทธิ์ในบ้านพิพาท
– กรณีอื่น ๆ ที่ศาลฎีกาถือว่ามิใช้เป็นการใช้อำนาจในทางมิชอบ
– หากการเรียกร้องเอาทรัพย์สินคืน  ถึงขนาดเป็นการขู่เข็ญว่า
จะทำอันตรายแก่ชีวิต  และร่างกายของผู้ถูกขู่เข็ญ   เป็นกรรโชก
– ขู่ว่า  “จะยิง”  ผู้ที่สงสัยว่าเป็นผู้ร้ายลักเงินไป  หากผู้นั้นไม่ใช้เงินคืนเป็นกรรโชก
  ความผิดฐานเจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ  ข่มขืนใจ
  ผู้อื่นให้มอบให้ซึ่งทรัพย์สิน  ตาม  ป.อ.  มาตรา  148  และ ความผิด
  ฐานเจ้าพนักงานเรียกสินบน  ตาม  ป.อ.  มาตรา  149  และ  ความผิด
  ฐานกรรโชกตามมาตรา  337
– กรณีที่ผิดทั้งมาตรา  148  และมาตรา  337
– กรณีที่ผิดทั้งมาตรา  149  และมาตรา  337
– กรณีที่ผิดมาตรา  149  แต่ไม่ผิดมาตรา  337
– กรณีที่ศาลพิพากษาว่าผิดมาตรา  337  เพราะโจทก์มิได้ฟ้อง
ให้ลงโทษฐานเจ้าพนักงานทุจริตต่อหน้าที่มาด้วย
  ความผิดสำเร็จ
– กรณีที่ศาลฎีกาถือว่าผู้เสียหาย  “ยอมจะให้”  เงินแก่จำเลยแล้ว 
จำเลยจึงผิดฐานกรรโชกสำเร็จ  ไม่ใช่เพียงพยายามกรรโชก
– หากผู้เสียหาย  “ไม่กลัว”  ตามที่จำเลยขู่เข็ญ  ก็เป็นพยายามกรรโชก
  ความแตกต่างระหว่างกรรโชกและลักทรัพย์
– การกระทำบางอย่างน่าจะผิดทั้งชิงทรัพย์และกรรโชกทรัพย์ด้วยกันได้
– กรรโชกซึ่งไม่เป็นชิงทรัพย์  แต่เป็นลักทรัพย์ได้
– ตัวอย่าง  กรณีที่ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าไม่เป็นลักทรัพย์ 
จึงไม่เป็นชิงทรัพย์  แต่เป็นกรรโชก
– องค์ประกอบภายในของความผิดฐานกรรโชก
– เหตุฉกรรจ์  (มาตรา  337  วรรคสอง)
บทที่ 3 ความผิดฐาน  “รีดเอาทรัพย์”  (มาตรา  338)
– ความแตกต่างของความผิดฐานกรรโชก  และความผิดฐานรีดเอาทรัพย์
– ความหมายของ  “ความลับ”
– ความหมายของการ  “เปิดเผย”
– การเปิดเผยนั้นจะทำให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหาย
– ผู้ถูกขู่เข็ญกับผู้ที่ให้ประโยชน์แก่ผู้ขู่เข็ญต้องเป็นบุคคลเดียวกัน
– การกระทำตามสิทธิที่ควรได้ตามกฎหมาย
– ความผิดสำเร็จ “จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น”
– การขู่เอาเงินจากผู้เสียหายนั้น  การขู่อย่างหนึ่งอาจเป็นกรรโชก
การขู่อีกอย่างหนึ่งอาจเป็นรีดเอาทรัพย์ก็ได้
– การขู่อย่างเดียว  อาจเป็นทั้ง “กรรโชก”  และ “รีดเอาทรัพย์”

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "[url]http://www.attorney285.com/product_571709_th[/url]​


*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order 

*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 


เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 



อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)





GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ