กัญชาคืออะไร , แคนนาบิส , กัญชากับการรักษาโรค การปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์ กั

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กัญชาคืออะไร , แคนนาบิส , กัญชากับการรักษาโรค การปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์ กั  (อ่าน 52 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
kkthai20009
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 10693


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: กรกฎาคม 20, 2019, 04:45:28 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

น้ำมันกัญชา  ,  หยดน้ำมันกัญชา  ,  องค์การเภสัชกรรม  ,  วิชากัญชาศาสตร์  , Cannabis at Thai  , Ganja at Thailand
กัญชาทางการแพทยต้นกัญชา จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกฤดูเดียว มีความสูงได้ประมาณ 1-3 เมตร ลำต้นมีขนาดเล็ก ตั้งตรง ลักษณะของลำต้นเป็นเหลี่ยม มีขนสีเขียวอมเทาและไม่ค่อยแตกสาขา ขยายพันธุ์ กัญชาไทย โดยใช้เมล็ด ขึ้นได้ในดินทุกชนิด ถ้าปลูก กัญชาไทย ในดินร่วนซุยและมีอาหารอุดมสมบูรณ์จะงอกงามดีมาก พืชชนิดนี้มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย มีเขตการกระจายพันธุ์ในอัฟกานิสถาน ทวีปแอฟริกาเขตร้อน ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือและใต้ และฮาวาย พบปลูกมากในยุโรป ประเทศบราซิล อเมริกันแถบตะวันออก และปลูกมากตามแนวเขาทางภาคเหนือของประเทศไทย
 [url=https://www.facebook.com/Thai.Hemps]Cannabis at Thailand
/ ใบกัญชา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปฝ่ามือ ออกเรียงตรงข้าม ลักษณะของใบแตกออกเป็นแฉก ๆ ประมาณ 5-8 แฉก แต่ละแฉกเป็นรูปยาวรี ปลายและโคนสอบ ส่วนขอบใบ กัญชาไทย ทุกแฉกเป็นหยักแบบฟันเลื่อย มีขนาดกว้างประมาณ 0.4-1.6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-9 เซนติเมตร ลักษณะของใบ กัญชาไทย โดยรวมจะคล้าย ๆ กับใบละหุ่ง ใบฝิ่นต้น และใบมันสำปะหลัง ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้ม ส่วนด้านล่างท้องใบมีสีเทาอ่อนเล็กน้อย มีขนต่อมกระจายทั่วผิวใบด้านบน ส่วนด้านล่างมีขนอ่อนนาบไปกับแผ่นใบ ก้านใบยาวประมาณ 3-14 เซนติเมตร ในก้านหนึ่งจะมีใบเดี่ยว 4-12 ใบ  กัญชาไทย มีกลิ่นเหม็นเขียว
ดอกกัญชา /  กัญชาสด  ออกดอกเป็นช่อที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ดอกเป็นสีเหลืองหรือสีเขียว ดอกเป็นแบบแยกเพศ มีทั้งดอกช่อเพศผู้และดอกช่อเพศเมีย ดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย กัญชาไทย จะแยกกันอยู่คนละต้น โดยช่อดอกและใบของต้นเพศผู้จะจัดเรียงตัวกันแบบห่าง ๆ ซึ่งต่างจากต้นเพศเมียกัญชา ที่จะเรียงชิดกัน ดอกเล็ก และดอกเพศเมียจะมีกลีบเลี้ยงหุ้มอยู่
สรรพคุณของกัญชา /  Thailand Ganja

  • ตำรายาไทยจะใช้เมล็ดกัญชา กินเป็นยาชูกำลัง ช่วยเจริญอาหาร แต่ถ้ากินมากจะมีอาการหวาดกลัวและหมดสติ (เมล็ด)
  • ยอดอ่อน กัญชาไทย เมื่อนำมาสกัดด้วยแอลกอฮอล์ จะได้สารที่เรียกว่า "ทิงเจอร์แคนเนบิสอินดิคา" ซึ่งเป็นน้ำยาสีเขียว เมื่อกินเข้าไปประมาณ 5-15 หยด  กัญชาไทย จะมีสรรพคุณเป็นยาช่วยรักษาโรคที่เกี่ยวกับระบบประสาท เป็นยาสงบเส้นประสาท ทำให้นอนหลับ เคลิ้มฝัน แก้โรคสมองพิการ เป็นยาระงับปวด และเป็นยาแก้อักเสบ (ยอดอ่อน)


  • ดอก ปฏิวัติกัญชา  ใช้เป็นยาแก้โรคเส้นประสาท เช่น นอนไม่หลับ คิดมาก หรือใช้กับผู้ป่วยที่เบื่ออาหาร โดยนำ กัญชาไทย มาปรุงเป็นอาหารให้กิน (ดอก)
  • ใบกัญชา ใช้เป็นยาแก้ไข้ผอมเหลือง ไม่มีกำลัง ตัวสั่น เสียงสั่น (ใบ)
  • ใบกัญชา  ใช้เป็นยารักษาโรคหอบหืด ช่วยขยายหลอดลมและลดการหดตัวของหลอดลม ด้วยการนำใบกัญชา สดมาหั่นให้เป็นฝอย แล้วเอาไปตากแห้ง จากนั้นจึงนำมาสูบเป็นยารักษาโรค (ใบ)
  • ใช้ดอกกัญชา ผสมกับยาฉุนพญามือเหล็ก นำมาหั่นแล้วสูบเป็นยาช่วยกัดเสมหะในลำคอ (ดอก)
  • เมล็ดกัญชา ใช้เป็นยาแก้กระหายน้ำ (เมล็ด)
  • น้ำยา กัญชาไทย สีเขียวที่สกัดได้จากยอดอ่อนด้วยแอลกอฮอล์ มีสรรพคุณเป็นยาแก้โรคบิด แก้ปวดท้อง และโรคท้องร่วง (ยอดอ่อน) ส่วนเมล็ด กัญชาไทย ก็มีสรรพคุณเป็นยาแก้บิดเช่นเดียวกับยอด (เมล็ด)
  • เมล็ดกัญชา มีสรรพคุณเป็นยาแก้ท้องผูก ใช้เป็นยาแก้ท้องผูกในคนสูงอายุได้ดี ด้วยการใช้เมล็ดซึ่งมีน้ำมัน 30% ให้ใช้ร่วมกับตัวยาอื่น ๆ ในตำรับยา (เมล็ด)
  • ยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้เมล็ด กัญชาไทย จำนวน 3 เมล็ด นำมาผสมกับพริกไทย 3 ผล บดให้เป็นผง ใช้ผสมกับน้ำกินทุกคืนเป็นยาคุมกำเนิดสำหรับสตรี (เมล็ด)
  • กัญชาไทย ช่วยแก้ประจำเดือนไม่ปกติของสตรี (ทั้งต้น)
  • ทั้งต้น กัญชาไทย ใช้ภายนอกเป็นยาแก้โรคผิวหนังกลากเกลื้อน (ทั้งต้น)
  • กัญชา ใช้เป็นยาแก้กล้ามเนื้อกระตุก (ทั้งต้น)
  • กัญชาไทย ช่วยลดอาการเจ็บปวดจากโรคไขข้ออักเสบ
  • นอกจากสรรพคุณที่กล่าว ในทางการแพทย์ยังใช้ประโยชน์จาก กัญชาไทย ในการรักษาโรคและบรรเทาอาการอย่างหลากหลาย เช่น ใช้แก้ปวดหัวไมเกรน แก้อาการสั่นเพ้อ แก้อาการไอ อ่อนล้า ปวดประจำเดือนของสตรี โรคข้อ หรือกระทั่งโรคมะเร็งบางชนิด

Tags : กัญชา,กัญชาไทย



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ