ข้อมูลจากการตรวจสอบตลาดพระเครื่อง มี สถิติข้อมูลจากการสำรวจน่าสนใจ!

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ข้อมูลจากการตรวจสอบตลาดพระเครื่อง มี สถิติข้อมูลจากการสำรวจน่าสนใจ!  (อ่าน 74 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Petchchacha
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 25869


ดูรายละเอียด










« เมื่อ: ตุลาคม 19, 2019, 03:55:46 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

ปัจจุบันนี้การเช่าพระเครื่อง ยังเป็นเป็นที่นิยมอยู่ ตลาดพระเครื่อง ยังมีการเติบโตอยู่เรื่อยๆ บางคนเช่าพระเครื่อง เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ต้องการสร้างความเป็นสิริมงคลให้กับตัวเอง บางคนนอกจากการเช่าบูชาเพื่อเป็นสิ่งให้กำลังทางจิตใจแล้ว ยังเช่าบูชาเพื่อการสะสม หรือเช่ามาในเชิงธุรกิจ สร้างรายได้ จึงทำให้ตลาดพระเครื่องในปัจจุบันมีทิศทางการเติบโตอย่างไวมาก มีเงินสะพัดในตลาดพระเครื่องราวๆ 40,000 ล้านบาท จากผลการเก็บตัวเลขของสวนดุสิตโพลมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้ข้อมูลจากการตรวจสอบที่น่าสนใจดังนี้
ผลจากการสำรวจยังพบว่า  “พระเครื่อง ที่คนไทยชอบห้อยคอมากที่สุด” คือ

  • ร้อยละ 47.79 หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้
  • พระสมเด็จโต  ร้อยละ 21.90
  • พระพุทธโสธร/หลวงพ่อโสธร  ร้อยละ 12.87
  • ร้อยละ 9.44 พระปิดตาหลวงปู่โต๊ะ
  • ร้อยละ 8.00 หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน

จากการทำการสำรวจสวนดุสิตโพล ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ในวาระเรื่อง “คนไทยคิดอย่างไร? กับ พระเครื่อง” ได้ผลสรุปตามนี้
เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ  ร้อยละ 56.86
ความศรัทธาเฉพาะบุคคล เป็นสิทธิเฉพาะบุคคล ร้อยละ 25.01
เป็นแนวทางหลักของคนที่นับถือพุทธ สืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่น ร้อยละ 14.13
สวมใส่เพื่อความงามเป็นสิ่งประดับ ร้อยละ 4.00
จากผลการสำรวจจะเห็นว่าการเจริญเติบโตและปริมาณเงินหมุนเวียนในตลาดพระเครื่อง มีมูลค่าสูงมาก ยังมีกลุ่มคนให้นิยมชื่นชอบ และให้ความสนใจพระเครื่องอยู่ เนื่องจากมูลค่าของตลาดมีมูลค่าค่อนข้างสูง จึงมีกลุ่มคนไม่ดีแอบแฝงเข้ามามาหาแสวงหาผลประโยชน์อยู่เรื่อยๆ แต่ถ้าพิจารณาภาพโดยรวมแล้ว ตลาดพระเครื่องยังสามารถไปต่อได้อีก
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง : เว็บพระเครื่อง

Tags : พระเครื่อง,ตลาดพระเครื่อง,เว็บพระเครื่อง



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ