ประวัติความเป็นมาของหนังกับซีรีย์ ต่างกันอย่างไง

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ประวัติความเป็นมาของหนังกับซีรีย์ ต่างกันอย่างไง  (อ่าน 121 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
suChompunuch
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 23655


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: เมษายน 22, 2016, 03:57:08 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

ผู้ที่คิดประดิษฐ์ ต้นแบบของภาพยนตร์ขึ้นคือ โทมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Adison) และผู้ร่วมงานของเขาชื่อ วิลเลียม เคนเนดี้ ดิคสัน (William kenady dickson) เมื่อ พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกชื่อว่า "คิเนโตสโคป" (Kinetoscope) มีลักษณะเป็นตู้สูงประมาณ 4 ฟุต มักเรียกชื่อว่า "ถ้ำมอง" มีลักษณะการดูผ่านช่องเล็กๆ ดูได้ที่ละคน ภายในมีฟิล์มภาพยนตร์ซึ่งถ่ายด้วยกล้องคิเนโตกราฟ (Kenetograph) ที่เอดิสันประดิษฐ์ขึ้นเอง ฟิล์มยาวประมาณ 50 ฟุต วางพาดไปมา เคลื่อนที่เป็นวงรอบ ผ่านช่องที่มีแว่นขยายกับหลอดไฟฟ้าด้วยความเร็ว 48 ภาพต่อวินาที ต่อมาลดลงเหลือ 16 ภาพต่อวินาที
ต่อมาพี่น้องตระกูลลูมิแอร์ (Lumiere) ชาวฝรั่งเศสได้พัฒนาภาพยนตร์ถ้ำมองของเอดิสันให้สามารถฉายขึ้นจอขนาดใหญ่ และดูได้พร้อมกันหลายคน เรียกเครื่องฉายภาพยนตร์แบบนี้ว่า แบบ "ซีเนมาโตกราฟ" (Cinimatograph) ซึ่งถือว่าเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2438 ต่อมาได้นำออกมาฉายตามเมืองใหญ่ๆ ทั่วโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2439 เป็นต้นมา ซึ่งคำว่า "ซีเนมา" (Cenema) ได้ใช้เรียกเกี่ยวกับภาพยนตร์มาถึงปัจจุบัน
ภาพยนตร์ที่สามารถฉายภาพให้ปรากฏบนจอขนาดใหญ่ ได้พัฒนาสมบูรณ์ขึ้นในอเมริกาในปี พ.ศ. 2438 โดยความร่วมมือระหว่างโทมัส อาแมท (Thomas Armat) ซีฟรานซิส เจนกินส์ (C. Francis Jenkins) และเอดิสัน เรียกเครื่องฉายภาพยนตร์ชนิดนี้ว่า ไบโอกราฟ (Bioghraph) ในเวลาต่อมา หลังจากนั้นภาพยนตร์ได้แพร่หลายไปในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เกิดอุตสาหกรรมการผลิตจำหน่ายและบริการฉายภาพยนตร์ขนาดใหญ่หลายแห่ง ทั้งในประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศสและประเทศอเมริกา ภาพยนตร์ได้กลายเป็นสื่อถ่ายทอดเหตุการณ์ ศิลปการบันเทิงและ[url=https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1]วรรณกรรต่างๆ ที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางตลอดมา
พ.ศ. 2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ซึ่งในครั้งนั้นได้มีช่างภาพของบริษัทลูมิแอร์ ประเทศฝรั่งเศส บันทึกภาพยนตร์การเสด็จถึงกรุงเบอร์นของพระเจ้ากรุงสยามไว้ 1 ม้วน ใช้เวลาประมาณ 1 นาที นับว่าเป็นการถ่ายภาพยนตร์ม้วนแรกของโลกที่บันทึกเกี่ยวกับชนชาติไทย
ภาพยนตร์ในปัจจุบันมีการเผยแพร่อยู่ 4 ทางคือ ฉายตามโรงภาพยนตร์ ภาพยนตร์กลางแปลง และภาพยนตร์เร่ ถ่ายทอดลงแผ่น VCD, DVD และ Blu-ray Disc เผยแพร่ทางโทรทัศน์และอินเทอร์เน็ต
[url=http://www.analyticred.com/]หนั

แมสเป็นหนังในกระแสความนิยมครับ จำพวกฮอลลิวู้ดสไตล์ เล่าเรื่องแบบเข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน ไม่ค่อยนอกลู่นอกทางหรือแหกกรอบวัฒนธรรมอันดี  เน้นความสุขของคนดู คือออกมากะว่าได้ตังค์ชัวร์ หนังแมสจะมีการทุ่มงบในกาประชาสัมพันธ์เยอะ เห็นโฆษณาบ่อย
หนังอินดี้ คือหนังนอกกระแสความนิยม ส่วนใหญ่มีประเด็น นัยยะ ปรัชญา หรือพยายามจะเล่าอะไรบางอย่างที่มีความหมายแฝงอยู่ภายใน ส่วนมากจะโดนบ่นว่าเข้าใจยากดูไม่รู้เรื่อง น่าเบื่อ อันนี้ส่วนมากเน้นความสุขของคนทำ อย่างได้ตังค์บ้าง แต่สุขใจกรูไว้ก่อน ส่วนมากหนังพวกนี้ชอบแหกคอก ค้นหาแนวทางในการเล่าเรื่องแบบที่แตกต่างออกไป เรื่องไหนประสบความสำเร็จ จะเป็นที่จดจำไปนาน  แต่ส่วนใหญ่จะห่วยแตกเพราะขาดความประนีประนอม เน้นสุขใจกูคนดูช่างhua mam หนังอินดี้หาดูได้ตามเทศกาลหนังหรือหนังที่ได้รางวัลในเทศกาลต่างๆ 

  ปล. บางทีหนังแมสก็อินดี้ได้แล้วหนังอินดี้ก็แมสได้  อีประเภทที่ต้องตีความเยอะๆ งงตอนจบ ดูแล้วมึน  ต้องดูสองรอบขึ้นไป ต้องตีความหมาย
นั่นคือความแตกต่างคร่าวๆครับ เอาเข้าจริงหนังมันมีแค่สองแบบแหละคือดูแล้วชอบกับดูแล้วเฉยๆ
ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์โลก

มาลองศึกษาประวัติศาสตร์ภาพยนตร์กันครับ ว่ามันมีความเป็นมาอย่างไร กว่าจะมาเป็นรูปแบบที่เราเห็นอยู่
ในทุกวันนี้ ลองอ่านกันดูเล่นๆก็ได้ครับ 

ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์โลกสามารถแบ่งได้คร่าวๆ 4 ยุค ได้แก่

1. ยุคบุกเบิก (ค.ศ. 1815 – 1907)
การทดลองของเอดิสันและคณะ
เอดิสันและดิคสันได้มาทำงานทดลองเกี่ยวกับภาพยนตร์ในราวปี ค.ศ. 1888 จนสามารถประดิษฐ์กล้องถ่ายภาพยนตร์เครื่องแรกของโลกได้สำเร็จ ในปี ค.ศ.1889 เรียกชื่อว่า Kinetograph นอกจากนี้ ยังได้ประดิษฐ์เครื่องฉายภาพยนตร์ที่เรียกว่า Kinetoscope ขึ้นด้วย แต่เป็นเครื่องฉายในลักษณะ “ถ้ำมอง” (Peep-Show) ที่ดูได้คราวละหนึ่งคน 

[img width=150,height=170]http://www.bloggang.com/data/filmlover/picture/1195751401.jpg[/img]

สิ่งประดิษฐ์ของพี่น้องลูมิแอร์
เนื่องจากว่าเอดิสันได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์เครื่องฉายและกล้องถ่ายภาพยนตร์
ของเขาแต่เฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาบรรดานักประดิษฐ์ชาวยุโรปชาติต่างๆ ที่สนใจและค้นคว้าในเรื่องนี้อยู่แล้วเมื่อได้มาชมนิทรรศการประดิษฐกรรม
ของเอดิสันจึงสามารถลอกแบบและนำไปปรับปรุงให้ดีกว่าได



นักประดิษฐ์คู่หนึ่งที่นับว่ามีบทบาทสำคัญมากก็คือ พี่น้องลูมิแอร์ อันได้แก่ Auguste และ Louise Lumiere ซึ่งได้ทดลองออกแบบกล้องถ่ายภาพยนตร์ขึ้น โดยให้ชื่อประดิษฐกรรมนี้ว่า Cinematography ซึ่งมีข้อดีกว่ากล้องของเอดิสัน คือ เป็นทั้งเครื่องถ่ายและเครื่องฉายได้ในตัวเดียว และมีน้ำหนักเบากว่า จึงสามารถนำออกไปถ่ายทำหนังนอกสถานที่ได้ภาพยนตร์เรื่องแรกที่
พี่น้องลูมิแอร์ถ่ายทำขึ้นก็คือ La Sortie des ouvriers de 
I’ usine Lumiere (คนงานออกจากโรงงานลูมิแอร์) แสดงให้เห็นภาพชีวิตประจำวันของคนงานที่ออกจากโรงงาน การจัดฉายภาพยนตร์ของลูมิแอร์ให้สาธารณชนชมเป็นครั้งแรกทำกันที่ห้อง
ใต้ถุนของร้าน Grand Cafe ในกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 1895 (และถือว่าวันนี้เป็นวันเริ่มต้นของภาพยนตร์ในเชิงธุรกิจ) ซึ่งก็ก่อให้เกิดความโกลาหลขึ้นพอสมควรเนื่องจากเมื่อหนังฉายภาพ
รถไฟที่พุ่งตรงเข้ามาหาคนดูทำให้คนดูหลายคนที่ไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยีใหม่
นี้ตกใจและวิ่งหนีเพราะคิดว่าเป็นเรื่องจริง


2. ยุคหนังเงียบ (ค.ศ. 1908 – 1928)
ยุคหนังเงียบ เป็นยุคที่สหรัฐฯ ได้พัฒนาศิลปะการสร้างภาพยนตร์ขึ้นอย่างมาก พอดีกับที่สงครามโลกครั้งแรกได้เกิดขึ้นในยุคนี้ด้วย เป็นผลให้พัฒนาการทางภาพยนตร์ของประเทศต่างๆ ในยุโรปที่เข้าสงครามต้องสะดุดชะงัก 
สมัยของกริฟฟิธการค้นพบศิลปะภาพยนตร์อย่างแท้จริงเริ่มต้นด้วย
งานของกริฟฟิธ โดยได้ค้นพบพื้นฐานที่สำคัญสองประการ คือ ผลของการจัดองค์ประกอบภาพและการตัดต่อ เขาได้ค้นพบว่า การจัดองค์ประกอบของภาพในแต่ละเฟรมโดยคำนึงถึงขนาดของภาพตาม
บทบาทของผู้แสดงจะมีผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของผู้ดูมากว่าการบันทึกภาพ
ในลักษณะเดียวกับการแสดงละครบนเวทีเกี่ยวกับจังหวะของการตัดต่อภาพแต่ละช็อต
ให้ต่อเนื่องกัน กริฟฟิธพบว่า การตัดภาพอย่างเฉื่อยชาจะให้ความรู้สึกเงียบ สงบ และเรียบเรื่อยขณะที่การตัดภาพอย่างกระทันหันรวดเร็วจะสร้างความรู้สึก
ตึงเครียดเร้าใจ เพิ่มความรู้สึกรวดเร็วอีกทั้งเสนอภาพในลักษณะแทนตา
ตัวละคร ซึ่งจะเป็นการเล่าความนึกคิด ความสนใจของตัวละครนั้นๆ ได้ด้วย
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ในสหรัฐฯเติบโตเต็มที่ยุคนี้นับเป็นยุคแรกที่นำระบบ
ดารายอดนิยมมาจับความประทับใจของสาธารณชน ทำให้ดาราดังๆ มีค่าตัวสูงมาก อย่างเช่น ชาลี แชปลิน หรือ แมรี่ พิคฟอร์ด ที่เซ็นต์สัญญารับค่าตัวปีละล้านเหรียญ

[img width=350,height=300]http://www.bloggang.com/data/filmlover/picture/1195751558.jpg[/img]

และในทศวรรษนี้เองที่ฮอลลีวู้ดก็ได้กลายมาเป็นเมืองศูนย์กลางของ
อุตสาหกรรมภาพยนตร์เมื่อนายทุนหลายคนได้ประสบความสำเร็จเป็นเศรษฐีเงินล้าน และได้มีการจัดระบบโรงถ่ายในฮอลลีวู้ดให้เป็นมาตรฐานโดยมีการกำหนดตาราง
การถ่ายทำ คำนวณงบประมาณรวมทั้งกลั่นกรองรับรองบทถ่ายทำก่อนที่จะลง
มือปฏิบัติงาน และมีการก่อตั้งสตูดิโอถ่ายหนังขึ้นจำนวนมาก เช่น Paramount Pictures, Goldwin Pictures Corporation, Universal Pictures Company เป็นต้น
หนังสารคดียุคแรกการพัฒนาที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของหนังเงียบในสหรัฐฯ ก็คือการเริ่มต้นกำเนิดภาพยนตร์สารคดีเรื่องสำคัญของโรเบิร์ต ฟลาเฮอร์ตี้ (Robert Flaherty) เรื่อง “Nanook of the North" ปี 1992 เป็นหนังสารคดีเรื่องแรกของสหรัฐฯ ที่ประสบความสำเร็จทางการค้าอย่างมาก



3. ยุคหนังเสียง (ค.ศ.1928-1945)
ความคิดที่จะบันทึกเสียงลงในภาพยนตร์นั้น เกิดขึ้นมานานควบคู่กับการคิดสร้างภาพยนตร์นั่นเอง และตลอดยุคหนังเงียบ จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่1ก็ได้มีการค้นคว้าทดลองเพื่อหาวิธีบันทึกเสียง
ลงในภาพยนตร์อย่างมีประสิทธิภาพและเสียค่าใช้จ่ายไม่สูงมาโดยตลอด
หนังเสียงในยุคแรกเริ่มจึงมีลักษณะของภาพนิ่งๆ ผสมผสานกับเสียงสนทนา ไม่มีการเคลื่อนไหวในภาพยนตร์อีกต่อไป ตัวอย่างเช่น ในเรื่อง “The Jazz Singer" ในซีเควนซ์ที่มีเสียงนั้น กล้องแช่นิ่งจับภาพนิ่งของ อัล จอลสัน ที่กำลังร้องเพลงโดยมีการตัดภาพเพียงน้อยนิด หากจะมีการขยับเคลื่อนไหวบ้างก็เป็นการเคลื่อนไหวของ
ผู้แสดงไม่ใช่ตัวกล้อง 



นอกจากการทดลองเรื่องเสียงแล้ว ในยุคเดียวกันนี้ มีเริ่มมีการทดลองเกี่ยวกับการใช้สีในภาพยนตร์ขึ้นพร้อมๆ กัน โดยในช่วงแรกๆ ผู้สร้างหนังบางคนใช้วิธีจ้างคนงาน 20 กว่าคนมาช่วยกันระบายสีลงในฟิล์มหนังทีละเฟรมด้วยมือ จนมาถึงในยุคนี้ซึ่งมีการผลิตฟิล์มที่สามารถบันทึกภาพยนตร์สีเหมือน
จริงได้ในที่สุด

4.ภาพยนตร์ในปัจจุบัน (ค.ศ. 1965-ปัจจุบัน)
ในระยะ 2 ทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ปรากฏว่าอุตสาหกรรมภาพยนตร์มีแนวโน้มไปในเรื่องของชาตินิยมเป็นสำคัญ ทว่าหลังจาก ค.ศ.1965 เป็นต้นมาก็ได้เปลี่ยนแนวไปเป็นสากลนิยมมากขึ้น ทั้งนี้ ไม่เพียงแต่จะเนื่องด้วยการจัดจำหน่ายที่เผยแพร่ไปทั่วโลกเท่านั้น หากแต่ในด้านการผลิตก็มีลักษณะเป็นสากลมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ผู้กำกับอิตาเลียนอาจใช้ตัวแสดงที่เป็นอังกฤษ อิตาเลียน และเยอรมัน ร่วมแสดงในภาพยนตร์ที่เป็นเรื่องของชาวเยอรมันก็เป็นได้ สิ่งเหล่านี้เป็นการทำลายกำแพงแห่งเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่เคยเป็นเครื่องกีดขวาง
อยู่แต่เดิมในทศวรรษ 1980 และ1990 กลุ่มผู้ชมภาพยนตร์มีอายุต่ำลงเรื่อยๆ ผู้กำกับรุ่นใหม่ที่ประสบความสำเร็จมหาศาลก็เป็นคนหนุ่มรุ่นใหม่เช่นกัน ลักษณะของหนังส่วนใหญ่ในสองทศวรรษนี้มีพัฒนาขึ้นอย่างมากในด้านการเล่นเ
ทคนิคพิเศษต่างๆ ในหนังทั้งหนังประเภทนิยายวิทยาศาสตร์และแฟนตาซี หรือแม้จะเป็นหนังชีวิตหนังผจญภัยลักษณะที่สมจริงมีเหตุผลถูกลดลงเป็นด้านรอง
โดยมุ่งให้ความสนุกสนานตื่นเต้นตามจินตนาการของผู้สร้างที่สอดรับกับ
ความต้องการของผู้ชมส่วนใหญ่ 
ละครชุด หรือ [url=http://www.analyticred.com/]ซีรีย

เป็นรา



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ