อยากรู้ไหม เอนไซม์ คืออะไร แล้วหากเรามีเอนไซม์ไม่เพียงพอ จะเกิดอะไรขึ้น

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: อยากรู้ไหม เอนไซม์ คืออะไร แล้วหากเรามีเอนไซม์ไม่เพียงพอ จะเกิดอะไรขึ้น  (อ่าน 49 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ittipan1989
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 25925


ดูรายละเอียด










« เมื่อ: มกราคม 20, 2017, 03:40:40 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

อยากรู้ไหม เอนไซม์ คืออะไร แล้วหากเรามีเอนไซม์ไม่เพียงพอ จะเกิดอะไรขึ้น

สวัสดีครับ วันนี้พี่ wawa@taladnadonline จะมาเล่าถึง เอนไซม์ ว่ามันคืออะไร แล้วถ้าร่างกายของเราขาด เอนไซม์(Enzyme) ร่างกายของเราจะกิดอะไรขึ้นบ้าง
เอนไซม์(Enzyme) คือ โปรตีนที่สร้างโดยสิ่งมีชีวิต มีหน้าที่เร่งปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆในสิ่งมีชีวิต(โดยการลดพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา)เพื่อที่จะได้ผลิตภัณฑ์ที่สำคัญต่างๆมาใช้ในการทำงานของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีวิต
การทำงานของเอนไซม์(Enzyme)จะเข้าไปจับกับสารตั้งต้นแบบเฉพาะเจาะจงเหมือนแม่กุญแจกับลูกกุญแจ เอนไซม์(Enzyme)จะทำการเร่งปฏิกิริยาเปลี่ยนสารตั้งต้นให้เป็นผลิตภัณฑ์ได้เร็วกว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติโดยไม่มีเอนไซม์(Enzyme) จึงทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถใช้ประโยชน์จากผลลัพธ์ที่ได้จากเอนไซม์ (Enzyme)ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพื่อการดำรงชีวิต หากร่างกายมนุษย์ขาดเอนไซม์(Enzyme)ที่สำคัญหรือปริมาณเอนไซม์(Enzyme)ที่สำคัญลดลงจากที่ปกติเคยผลิตได้แล้ว จะทำให้ร่างกายเกิดอาการผิดปกติขึ้นได้ จนเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายต่างๆขึ้นได้
เอนไซม์แบ่งเป็น 3 ชนิด
1. เอนไซม์จากอาหาร (Food Enzyme) จะพบได้ในอาหารดิบทุกชนิด ถ้ามาจากพืชเราจะเรียกว่าเอนไซม์พืช (Plant Enzyme) และถ้ามาจากสัตว์เราจะเรียกว่าเอนไซม์จากสัตว์ (Animal Enzyme) ถ้าอาหารที่นำมาปรุงแต่งด้วยความร้อน เช่น ต้ม ปิ้ง จะทำลายเอนไซม์ในอาหารได้โดยง่าย เอนไซม์นี้จะช่วยย่อยอาหารที่เรากินเข้าไป ความร้อนที่สูงเกินกว่า 118 องศาฟาเรนไฮน์ จะทำลายเอนไซม์ในอาหารจนหมดและอาหารที่ไม่มีเอนไซม์แล้วนี้เราเรียกว่า อาหารที่ตายแล้ว (Dead Food)
2. เอนไซม์ย่อยอาหาร (Digestive Enzyme) เป็นเอนไซม์ที่ร่างกายผลิต ส่วนใหญ่ผลิตจากตับอ่อน เพื่อใช้ย่อยอาหารและดูดซึมอาหารที่เรากินเข้าไป ทำให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่มีคุณค่า
3. เอนไซม์ในการเผาผลาญพลังงาน (Metabolic Enzyme) เป็นเอ็นไซม์ที่ผลิตในเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกาย ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีเพื่อการเผาผลาญสารอาหารและสร้างพลังงาน สร้างภูมิต้านทาน สร้างความเจริญเติบโต ตลอดจนซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของอวัยวะต่างๆ ซึ่งจะต้องอาศัยเอนไซม์เมตาบอลิคนี้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี

เอนไซม์สำคัญกับชีวิตของเราอย่างไร ?
เอนไซม์มีหน้าที่สำคัญในการสร้างมนุษย์ตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จากไข่ที่ผสมพันธุ์เซลล์เดียวเติบโตมาจนเป็น 60 ล้านล้านเซลล์ ต่อมาเอนไซม์ยังไม่หน้าที่ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ย่อยอาหารเพื่อให้ได้สารอาหาร ซึ่งจะไปทำประโยชน์ให้กับอวัยวะต่างๆ เอนไซม์สามารถกำจัดของเสียในร่างกาย โยเร่งปฏิกิริยาเคมีเพื่อทำงายสิ่งแปลกปลอม ดังนั้นเอนไซม์จึงทำให้หลอดเลือดสะอาด
ถึงแม้ว่าฮอร์โมน วิตามิน เกลือแร่ โปรตีน และสารอาหารอื่นๆ จะสำคัญต่อชีวิตและสุขภาพ แต่ก็โดเอนไซม์[/url]เท่านั้นที่ทำให้สารต่างๆ ดังกล่าว ทำงานตามคุณสมบัติของมันได้ ถ้าไม่มีเอนไซม์ ทุกอย่างทำปฏิกิริยาเคมีไม่ได้เลย จนมีผู้กล่าวว่า “เอนไซม์คือพลังงานชีวิต” เพราะถ้าระดับของเอนไซม์ในร่างกายเกิดลดต่ำลงจนถึงระดับหนึ่ง ทำให้ทุกระบบทำงานไม่ได้ ชีวิตจะหยุดทันที

เกิดอะไรขึ้นหากเรามีเอนไซม์ไม่เพียงพอ ?
1. อาการที่ท่านรู้สึกได้ด้วยตัวเองว่าท่านน่าจะขาดเอนไซม์คือ
– รู้สึกเหนื่อยหลังจากกินอาหารมื้อหนักๆ
– อ่อนเพลียเป็นประจำ
– ท้องผูก
– ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ บางครั้งมีอาการจุกเสียด
– ลมแน่นในท้อง ผายลมมีกลิ่นเหม็น
– อุจจาระจมน้ำ อุจจาระเหม็นมาก
– มีกลิ่นปาก
– มีอาการโรคภูมิแพ้ง่าย บางครั้งถึงขนาดหอบหืด
– เวลาเป็นแผลจะหายช้า
– น้ำหนักตัวเพิ่มง่าย
2. อาการที่แพทย์ตรวจพบว่าท่านกำลังขาดเอนไซม์คือ
– ตับอ่อนบวม
– เม็ดโลหิตขาวเพิ่มจำนวนมากกว่าปกติหลังกินอาหาร 30 นาที
– น้ำลายมีฤทธิ์เป็นกรด (pH ต่ำกว่า 7)
– ในปัสสาวะมีสารพิษมาก สารพิษเกิดจากอาหารไม่ย่อยจึงบูดและเน่าในลำไส้ใหญ่
– ระดับเอนไซม์ต่ำกว่าปกติในเลือด
– ความดันโลหิตอาจสูงขึ้นกว่าปกติเล็กน้อย
ลดความดัน ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่นhttp://www.bloggang.com/mainblog.php?id=taladnadonline&month=14-12-2016&group=2&gblog=21

Tags : เอนไซม์,Enzyme,เอนไซม์คือพลังงานชีวิต



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ