ต้นแบบการปิดบัญชี พร้อมจบประเด็นภาษี สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ต้นแบบการปิดบัญชี พร้อมจบประเด็นภาษี สมเดช โรจน์คุรีเสถียร  (อ่าน 23 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
attorney285
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41755


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: พฤษภาคม 24, 2017, 04:00:21 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

ต้นแบบการปิดบัญชี พร้อมจบประเด็นภาษี สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_886422_th_4256158ต้นแบบการปิดบัญชี พร้อมจบประเด็นภาษี สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
ผู้แต่ง : สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 5 : มีนาคม 2560
จำนวนหน้า: 744 หน้า
ขนาด : 18.5x26
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
รายละเอียดหนังสือ 
ในการปิดบัญชีของแต่ละกิจการนอกจากจะจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีแล้ว ยังต้องจัดทำรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกบัญชีและการเสียภาษีอากรอีกด้วย เช่น รายงานรายจ่ายต้องห้าม รายงานการปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ) รายงานกระทบยอดรายได้ในแบบ ภ.ง.ด.50 กับ ภ.พ.30 รายงานรายได้ที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อเป็นข้อมูลตอบข้อโต้แย้งเมื่อถูกเจ้าพนักงานประเมินสอบถาม
หนังสือ “ต้นแบบ...การปิดบัญชีพร้อมจบประเด็นภาษี” ได้จัดพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งที่ 4 มีการปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาบางเรื่องให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ออกใหม่ เพื่อให้กิจการสามารถปิดบัญชี ณ วันสิ้นรอบบัญชีได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์มาตรฐานการบัญชีและภาษีอากรใหม่ล่าสุด
*กระบวนการบันทึกบัญชีกับที่มาของงบการเงิน
*เกณฑ์การรับรู้รายการในงบการเงิน
*สินทรัพย์
 
สารบัญ
 
chapter 01 จุดเริ่มต้นของงบการเงิน
-กระบวนการบันทึกบัญชีกับที่มาของงบการเงิน
-ต้องคำนึงถึงข้อสมมติฐานทางบัญชี
-เกณฑ์การรับรู้รายการในงบการเงิน
1. การรับรู้สินทรัพย์
2. การรับรู้หนี้สิน
3. การรับรู้รายได้
4. การรับรู้ค่าใช้จ่าย
-การวัดมูลค่าองค์ประกอบของงบการเงิน
-งบแสดงฐานะการเงิน
-งบกำไรขาดทุน
-งบกระเเสเงินสด
-หมายเหตุประกอบงบการเงิน
-งบการเงิน ณ วันปิดบัญชี
 
 
Chapter 02 สินทรัพย์
-สินทรัพย์
-รายการที่ต้องมีในสินทรัพย์
1.สินทรัพย์หมุนเวียน
2.สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
-เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
1.เงินสด ธนบัตร และเหรียญ
2.เงินฝากธนาคารออมทรัพย์
3.เงินฝากธนาคารกระแสรายวัน
4.เช็คที่ถึงกำหนดชำระ แต่ยังมิได้นำฝาก
5.งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
-บทบาทและความสำคัญของเงินสด
-การควบคุมเกี่ยวกับเงินสด
-การจัดการเงินสด
-วิธีการเร่งเวลาในการรับเงินสด
-วิธีการชะลอการจ่ายเงินสด
-ปัญหาของเงินสด
-สมุดบัญชีเงินสดย่อย
-ระบบ lmprest System
-การตั้งวงเงินสดย่อย
รายจ่ายเงินสดย่อย
-ทะเบียนใบสำคัญจ่าย
-ทะเบียนจ่ายเช็ค
-การบันทึกรายการในทะเบียนจ่ายเช็ค
-ลูกหนี้การค้า
การบันทึกบัญชีการเช่าซื้อ
-ลูกหนี้ ณ วันปิดบัญชี
-หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ
-การประมาณการหนี้สงสัยจะสูญ
-การตัดจำหน่ายหนี้สูญตามประมวลรัษฎากร
-เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
-เงินทดรองจ่าย
-เงินทดรองจ่ายโดยพนักงานของกิจการ
-เงินทดรองจ่ายแทนบุคคลอื่น
-เงินให้กู้ยืม
การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
-การยื่นแบบภาษีธุรกิจเฉพาะ
-ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ไม่คิดได้หรือไม่
-ให้กรรมการกูยืมเงิน
ให้บริษัทในเครือกู้ยืมเงิน
-การให้กู้ยืม ยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
-ลูกหนี้ค่าหุ้นถือเป็นการให้กู้ยืมเงิน
-ภาษีหัก ณ ที่จ่าย กับดอกเบี้ยเงินกู้ยืม
-งบการเงินสะท้อนการกู้ยืมเงินอย่างไร
-สินค้าคงเหลือ
-ประเภทของสินค้าคงเหลือ
-ระบบบัญชีของสินค้าคงเหลือ
-กรรมสิทธิ์ในสินค้าคงเหลือ ณ วันปิดบัญชี
-การคำนวณมูลค่าของสินค้าคงเหลือผิดพลาด
-ราคาของสินค้าคงเหลือ
-การตีราคาสินค้าคงเหลือ
-การตีราคาสินค้าคงเหลือด้วยราคาทุน
-การรับรู้สินค้าคงเหลือเป็นค่าใช้จ่าย
-การทำลายของเสีย เสื่อมคุณภาพ มีตำหนิ ล้าสมัย หมดอายุ
-สินค้าขาดหรือเกินจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
-สินทรัพย์หมุนเวียน
-รายได้ค้างรับ
-ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า
-เงินลงทุน
-การวัดมูลค่าของเงินลงทุน
-การวัดมูลค่าภายหลังการได้มา
-ผลตอบแทนจากเงินลงทุน
-เงินลงทุน ณ วันปิดบัญชี
-รายงานเงินลงทุน ณ วันปิดบัญชี
-ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
-การรับรู้ต้นทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
-การวัดมูลค่าและการได้มาของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
-ราคาทุนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และส่วนประกอบที่สำคัญ
-ราคาต้นทุนของสินทรัพย์ 
1.ที่ดิน
2.อาคาร
-ต้นทุนทรัพย์สินที่ซื้อเป็นเงินสด
-ต้นทุนทรัพย์สินที่เกิดจากการเช่าซื้อหรือผ่อนชำระ
-การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายาร
-วิธีตีราคาใหม่
-ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา
-การคำนาณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
-การคิดค่าเสื่อมราคารวมเป็นกลุ่ม
-การแยกส่วนประกอบของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
-สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
-สิินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาแยกต่างหาก
-สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการรวมธุรกิจ
-รายจ่ายที่เกิดขึ้นภายหลังการได้มาซึ่งโครงการวินิจจัยและพัฒนา ที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
-สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการอุดหนุนของรัฐบาล
-สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการแลกเปลี่ยน
-สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เกิดขึ้นเองภายในกิจการ
-ต้นทุนของ Website
-วิธีตีราคาใหม่
-การตีราคาสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีการหักค่าตัดจำหน่าย
-การตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
-การหักค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนตามประมวลรัษฎากร
-การด้อยค่าของสินทรัพย์
-การระบุสินทรัพย์อาจเกิดการด้อยค่า
-ข้อบ่งชี้การด้อยค่าของสินทรัพย์
-การทดสอบมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน
-การประมาณการราคาขายสุทธิ
-การประมาณการมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์
-การประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต
-การบัญชีเกี่ยวกับด้อยค่าของสินทรัพย์
-การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าจากการด้อยค่าสินทรัพย์
-หน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด
-การกลับรายการการขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์
 
Chapter 03   หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
-หนี้สิน
-หนี้สินหมุนเวียน
-หนี้สินไม่หมุนเวียน
-เจ้าหนี้การค้า
-เงินกู้ยืมระยะยาว
-การกู้ยืมหลายวัตถุประสงค์
-ประมาณการหนี้สิน
-ประเภทของหนี้สิน
-การวัดมูลค่าประมาณการหนี้สิน
-การรับประกันสินค้า
-หนี้ค่าสัมนาคุณโดยประมาณ
-หนี้ค่าบัตรของขวัญหรือบัตรกำนัลโดยประมาณ
-ประมาณการค่ารื้อถอน ค่าขนย้าย และการบูรณะ
-การวัดมูลค่าด้วยการตีราคาใหม่
-ประมาณการหนี้สินกับประมวลรัษฎากร
-หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
-สินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น
-หนี้สินหมุนเวียนอื่น
-หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น
-เจ้าหนี้สัญญาเช่าระยะยาว
-สัญญาเช่า ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17
-แนวปฏิบัติการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17
-มูลค่าซาก
-มูลค่าซากที่มีการประกัน
-สิทธิในการซื้อสินทรัพย์ที่เช่า
-การขายและเช่ากลับคืน
-ส่วนของเจ้าของ
-ทุนเรือนห้น
-เงินปันผลและเงินสำรอง
-กำไรต่อหุ้น
-ข้อสมมุติฐานทางบัญชี
-งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
-งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จกับการคำนวณกำไรต่อหุ้น
-ผลตอบแทนจากกำไรต่อหุ้น
-กำไรต่อหุ้นตามมาตรฐานการบัญชี
-การคำนวณกำไรต่อหุ้น
 
 
Chapter 04 รายได้
-รายได้
-การตรวจสอบรายได้ ณ วันปิดบัญชี
-รายได้ทางภาษีอากร
1.รายได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้
2.รายได้ที่ยกเวินภาษีเงินได้
-รายได้จากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
-รายได้เงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
-เงินปันผลและส่วนแบ่งกำไร
-ส่วนแบ่งกำไรจากกิจการร่วมค้า
-รายได้เงินปันผล
-เงินปันผลที่ได้จากนิติบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ
-เงินได้จากการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
-กิจการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน
-ใบแสดงสิทธิและเงินปันผล
-รายได้จากการขายเครื่องจักร
-กิจการสถานศึกษาและที่ได้จากการประกอบกิจการ
-สถานฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน
-การโอนและการรับโอนทรัพย์สินที่เป็นสาธารณูปโภค
-การรับรู้รายได้ตามมาตรฐานการบัญชี
-การวัดมูลค่าของรายได้
1.การรับรู้รายได้ของธุรกิจขายสินค้า
2.การรับรู้รายได้ของธุรกิจให้บิการ
3.การรับรู้รายได้ค่าดอกเบี้ย ค่าสิทธิ และเงินปันผล
-ปัญหาาการรับรู้รายได้ตามมาตรฐานการบัญชี
-การรับรู้รายได้ตามประมวลรัษฎากร
1.เกณฑ์เงินสด
2.เกณฑ์สิทธิ
-เกณฑ์สิทธิคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528
1.สถาบันการเงิน
2.กิจการประกันชีวิต
3.กิจการฝากขายสิรค้า
4.กิจการใช้เช่าทรัพย์สิน
5.กิจการให้เช่าซื้อหรือขายผ่อนชำระ
6.กิจการก่อสร้าง
7.กิจการขายอสังหาริมทรัพย์
8.กิจการสนามกอล์ฟและกิจการให้บริการระยะยาวแก่สมาชิก
9.กิจการขายหลักทรัพย์ที่ต้องยืมหลักทรัพย์มาเพื่อส่งมอบ
10.กิจการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน
11.บริษัทบริหารสินทรัพย์
-ปัญหารายได้อื่น
1.กำไรจากการจำหน่ายทรัพย์สิน
2.กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
3.ดอกเบี้ยรับ
 
 
Chapter 05 ค่าใช้จ่าย (Expenses)
-ค่าใช้จ่าย
-รายจ่ายที่มีลักษณะลงทุนหรือรายจ่ายฝ่ายทุน
-รายจ่ายที่หากำไรหรือก่อให้เกิดรายได้
-การตรวจสอบ ค่าใช้จ่าย ณ วันปิดบัญชี
-รายจ่ายเพื่อการลงทุน ต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้น
-ต้นทุนขายหรือต้นทุนขายให้บริการ
-รายจ่ายในการขายและการบริหาร
-รายจ่ายเกี่ยวกับพนักงาน
-ค่าตอบแทนกรรมการ
-ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพย์
-ค่าพาหนะ รายจ่ายในการเดินทาง ค่าที่พัก
-ค่าระวาง ค่าขนส่ง
-ค่าเช่า
-ค่าซ่อมแซม
-ค่ารับรอง
-ค่านายหน้า ค่าโฆษณา ค่าส่งเสริมการขาย
-รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะและรายจ่ายเพื่อการศึกษาและการกีฬา
-หนี้สูญ
-ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน
-การคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามประมวลรัษฎากร
-การคำนวนหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
-การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อราคาทรัพย์สินเกินกว่าอัตราที่กำหนด
-การหักค่าเสื่อมราคาวิธี ลดยอดทวีคูณ
-เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
-เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
-คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์
-อาคารโรงงาน
-เครื่องจักรและอุปกรณ์
-อาคารถาวรของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค
-รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน
-ภาษีซื้อของรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน
-การคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา
-รายจ่ายต้องห้ามที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขมาตรา 65 
มาตรา 65 ทวิ (2) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน
มาตรา 65 ทวิ (3) การตีราคาทรัพย์สิน
มาตรา 65 ทวิ (4) ในกรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงิน
มาตรา 65 ทวิ (5) การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ
มาตรา 65 ทวิ (6) การตีราราสินค้าคงเหลือ
มาตรา 65 ทวิ (7) ราคาทุนของสินค้าที่ส่งมาจากต่างประเทศ
มาตรา 65 ทวิ (เจ๋ง ราคาทุนของสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ
มาตรา 65 ทวิ (9) การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้
-รายจ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา
-การบริจาคให้แก่กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
-ค่าใช้จ่ายในการอบรมสัมมนาภายในประเทศ
-ค่าใช้จ่ายเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาตรา 65 ทวิ (10) รายได้เงินปันผล
มาตรา 65 ทวิ (11) ดอกเบี้ยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
มาตรา 65 ทวิ (12) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกำไรภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
มาตรา 65 ทวิ (13) มูลนิธิหรือสมาคม
มาตรา 65 ทวิ (14) ภาษีขาย
-รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี
มาตรา 65 ตรี (1) เงินสำรองต่างๆ
มาตรา 65 ตรี (2) เงินกองทุน
มาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว
-การให้ดดยเสน่หา หรือการกุศล
มาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองหรือค่าบริการ
มาตรา 65 ตรี (5) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน
มาตรา 65 ตรี (6) เบี้ยปรับหรือเงินเพิ่มภาษีอากร ค่าปรับอาญา
-ภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
มาตรา 65 ตรี (7) การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทน
-ของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
มาตรา 65 ตรี (เจ๋ง เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วน
-เฉพาะส่วนที่จ่ายเกินสมควร
มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง
-หรือรายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอื่น
มาตรา 65 ตรี (10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นเจ้าของเองและใช้เอง
มาตรา 65 ตรี (11) ดอกเบี้ยที่คิดให้สำหรับเงินทุน เงินสำรองต่างๆ หรือเงินกองทุนของตนเอง
มาตรา 65 ตรี (12) ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเนื่องจากการประกัน หรือสัญญาคุ้มกันใดๆ หรือผลขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชี
มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ
มตารา 65 ตรี (14) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ
มาตรา 65 ตรี (15) ค่าซื้อทรัพย์สินและรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อ หรือขายทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
มาตรา 65 ตรี (16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไปเนื่องจากกิจการที่ทำ
มาตรา 65 ตรี (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาต่ำลง ทั้งนี้ ภายใต้บังคับมาตรา 65 ทวิ
มาตรา 65 ตรี (18) รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
มาตรา 65 ตรี (19) รายจ่ายใดๆที่กำหนดจ่ายจากผลกำไรที่ได้ เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว
มาตรา 65 ตรี (20) รายจ่ายที่มีลักษณะทำนองเดียวกับที่ได้ระบไว้ใน 1-9 ซึ่งจะกำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
-ต้นทุนการกู้ยืม
-รายจ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายได้เพิ่มขึ้น
-ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและสัมมนา
-ค่าใช้จ่ายนันทนาการ
-ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา
-เงินที่จ่ายให้ในการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือสนับสนุน  การดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
-ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการอ่าน
-ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับคนพิการ
-เงินที่คนต่างด้าวได้รับเนื่องจากการจ้างงานของศูนย์กลางการจัดหาสินค้าเพื่อการผลิตระหว่างประเทศ
-การดำเนินโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
-โครงการฝึกอบรมอาชีพและการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบำบัด แก้ไขฟื้นฟู สงเคราะห์เด็กและเยาว์ชน
-รายจ่ายเพื่อการลงทุนต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้น
-รายจ่ายจ้างนักเรียนหรือนักศึกษาบัญชี
-กิจการอุตสาหกรรมเป้าหมาย
-รายจ่ายเพื่อการวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม
 
Chapter 06 การปรับปรุงกำไรสุทธิและสิ่งที่ต้องทำเพิ่มเติม ณ วันปิดบัญชี
-นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
-การปรับปรุงกำไรสุทธิ ณ วันปิดบัญชีที่ต้องระมัดระวัง
-10 รายการปรับปรุงที่ต้องระมัดระวัง
-ความแตกต่างทางบัญชีกับทางภาษีอากร
-ความแตกต่างของการวัดมูลค่าของรายได้
-ความแตกต่างของรายได้ที่ทางบัญชีไม่ถือเป็นรายได้ แต่ทางภาษีอากรถือเป็นรายได้
-กระทบยอด ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 ณ วันปิดบัญชี
-บัญชีพิเศษการหักภาษี ณ ที่จ่าย
-รายงานภาษีขายและรายงานภาษีซื้อ

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "[url]http://www.attorney285.com/product_886422_th[/url]​


**** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order 

*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 


เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 



อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)





GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ