ปั๊มไดคัท ให้บริการเข้ารูปเล่ม รับเข้าห่วงกระดูกงู ด่วนได้ไว

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ปั๊มไดคัท ให้บริการเข้ารูปเล่ม รับเข้าห่วงกระดูกงู ด่วนได้ไว  (อ่าน 29 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
nitigorn20
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 20426


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: มิถุนายน 07, 2017, 07:15:52 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

รวีวิริยะบริการหลังงานพิมพ์ ปั๊มไดคัท ปั๊มเคทอง หลังการพิมพ์เสร็จ ทำบล็อคออกแบบ
ให้บริการงาน ปั๊มไดคั
ระบบงานพิมพ์ดิจิตอล (Digital) เป็นระบบงานพิมพ์ที่ไม่ต้องผ่านขั้นตอนการยิงฟิล์ม ออกเพลท (แม่พิมพ์) เช่นเดียวกับระบบออฟเซ็ท เพียงนำไฟล์งานที่ออกแบบไว้มาจัดหน้าด้วยคอมพิวเตอร์กราฟฟิค จากนั้น ส่งไฟล์เข้าสู่เครื่องพิมพ์ เมื่อเครื่องพิมพ์ ได้รับไฟล์งานดังกล่าวจะ Process งานออกมาเป็นงานพิมพ์ คล้ายกับการทำงานของ Printer ที่เราใช้อยู่ตามบ้านนั้นเอง สิ่งที่แตกต่าง คือ คุณภาพงานพิมพ์ที่ออกมาจะมีคุณภาพ ใกล้เคียงกับงานพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ท หรือได้งานที่มีคุณภาพดีกว่างานที่พิมพ์ผ่านเครื่อง Inkjet หรือ เครื่อง Printer สีทั่วไป ซึ่งงานพิมพ์ระบบดิจิตอลช่วยลูกค้าประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย และรวดเร็วสอดรับ กับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีของสื่อสิ่งพิมพ์ในยุคปัจจุบันได้เป็นอย่างดี

ข้อดีระบบการพิมพ์ดิจิตอล
- ใช้งบประมาณน้อยกว่า (ในกรณีที่พิมพ์จำนวนน้อย) เพราะไม่ต้องทำเพลทพิมพ์ ซึ่งราคาโดยรวมเวลาจัดพิมพ์จะถูกกว่า
- มาตรฐานงานพิมพ์ มีระบบการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์เท่ากันในทุกๆ หน้า เนื่องจากไม่ต้องควบคุมหมึกและน้ำ เช่นการ พิมพ์ออฟเซ็ท (Offset Printing) ที่ต้องใช้ผู้ควบคุมที่มีความชำนาญเป็นพิเศษ


Digital Process
งานที่พิมพ์ด้วยระบบดิจิตอล-ออฟเซ็ทมีความแตกต่างจากงานที่พิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ท ในกรณีที่งานมีลักษณะเป็นสีพื้น สีของชิ้นงาน จะไม่เรียบเนียนเหมือนงานพิมพ์ออฟเซ็ทแต่จะปรากฏริ้วหรือขั้นโดยเฉพาะสีฟ้า ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยใส่ TEXTURE ที่ไฟล์งาน หรือการใส่ลายให้กับสีพื้น ก็สามารถช่วยลดริ้ว หรือขั้นได้

 
การประยุกต์ใช้เครื่องตัดสติกเกอร์
เครื่องตัดสติกเกอร์จะไม่ได้เป็นเพียงแค่เครื่องตัดสติกเกอร์อีกต่อไป เราสามารถประยุกตืใช้ได้อย่างหลากหลายมากมาย แล้วแต่ไอเดียของแต่ละคน วันนี้เราจึงขอแนะนำ 20 ตัวอย่างของการประยุกต์ใช้เครื่องตัดสติกเกอร์ มาให้ชมกันค่ะ เผื่อจะเป็นแนวทางในการทำธุรกิจของท่าน เชื่อว่าหลายคน คงจะคิดไม่ถึงกับสิ่งที่เครื่องตัดสติกเกอร์ตัวเล็กๆ ทำได้แน่ๆ ไปดูกันดีกว่านะคะว่า มันทำอะไรได้บ้าง
- ทำฉลากสินค้า ใช้เครื่องตัดสติกเกอร์ไดคัทฉลากสินค้าเป็นดวงๆ
-เพ้นท์เล็บ ตัดสติกเกอร์ใสๆ บางๆ เพื่อทำเป็นแบบสำหรับเพ้นท์เล็บ ตามแบบฉบับของคุีณ
-จิ๊กซอว์ เปลี่ยนจากสติ๊กเกอร์เป็นกระดาษรูปภาพ ตัดในแบบของจิ๊กซอว์ ก็สวยไปอีกแบบนะ
-ตู้ไฟ ตัดสติกเกอร์ติดตู้ไฟ แบบแนวๆ ใช้หน้าร้านยามค่ำคืน

บัตรเชิญ (Invitations) เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดทำขึ้นเพื่อ ประชาสัมพันธ์งานพิธีต่างๆที่จะเกิดขึ้น เนื้อหาภายในจึงจะต้องชัดเจนเข้าใจง่าย โดยส่วนมากนิยมทำเป็น 1 พับ เพื่อการจัดวางเนื้อหาให้ได้มากขึ้น ส่วนเนื้อหาที่อยู่ภายในบัตรเชิญหรือการ์ดเชิญนั้น จะเป็นข้อความที่ทำให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร
บัตรเชิญ มีหลายแบบหลายประเภท แตกต่างกันไปตามโอกาสการใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นงานพิมพ์งานมงคล เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นกระดาษแข็งหนา เพื่อแจ้งข่าวสารใหม่ๆให้กับองค์กร ธุรกิจและเจ้าของงาน โดยมีการใส่ข้อความหรือรูปภาพที่สะท้อนถึงภาพลักษณ์เกี่ยวกับงานที่ต้องการนำเสนอ การพิมพ์ต้องเหมาะแก่การเก็บสะสมขนาดการ์ดเชิญและโปสการ์ด จะแยกออกเป็นประเภทตามโอกาสการใช้งาน ได้แก่

  • การ์ดสวัสดีปีใหม่ (Happy New Year Card)
  • การ์ดงานพระราชทานเพลิงศพ , การ์ดงานศพ

สำหรับผู้ที่สนใจสั่งทำการ์ดแต่งงาน พิมพ์การ์ดแต่งงาน การ์ดเชิญ บัตรเชิญ โปสการ์ดต่างๆ สามารถติดต่อเพื่อขอราคางานและสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับการทำการ์ดได้ สั่งทำได้ตามจำนวนที่ต้องการใช้งาน ไม่มีจำนวนขั้นต่ำในการสั่งทำ
กลับตีลังกา เป็นคำที่ใช้ในโรงพิมพ์สำหรับเรียก การพิมพ์ลงบนแผ่นพิมพ์ที่ใช้เพลท 1 ชุด พิมพ์ด้านหน้าแล้วกลับกระดาษสลับด้านฟันจับเป็นคนละข้างกับหน้าแรก วิธีนี้ทำให้แผ่นพิมพ์ 1 แผ่น ได้งาน 2 ชุดเหมือนกัน
กลับนอก เป็นคำที่ใช้ในโรงพิมพ์สำหรับเรียก การพิมพ์ลงบนแผ่นพิมพ์ที่ใช้เพลท 2 ชุด พิมพ์ด้านหน้า 1 ชุด พิมพ์ด้านหลังอีกหนึ่งชุด
กลับในตัว เป็นคำที่ใช้ในโรงพิมพ์สำหรับเรียก การพิมพ์ลงบนแผ่นพิมพ์ที่ใช้เพลท 1 ชุด พิมพ์ด้านหน้าแล้วกลับกระดาษสลับข้างพิมพ์โดยด้านฟันจับกระดาษยังคงเป็นข้างเดียวกันกับด้านแรก วิธีนี้ทำให้แผ่นพิมพ์ 1 แผ่น ได้งาน 2 ชุดเหมือนกัน

ขนาดกระดาษแผ่นใหญ่มาตรฐานที่ใช้กันใน โรงพิมพ์
การออกแบบงานพิมพ์เราควรจะทราบขนาดกระดาษมาตรฐานไว้ เพื่อจะได้ไม่เสียเศษกระดาษ ทำให้ต้นทุนไม่สูง

ขนาดกระดาษมาตราฐาน โรงพิมพ์ ***กระดาษปอนด์, อาร์ตมัน, อาร์ตด้าน, ปรู๊ฟ มีอยู่ 3 ขนาดคือ
ขนาด 24 x 35 นิ้ว
ขนาด 25 x 36 นิ้ว
ขนาด 31 x 43 นิ้ว

นอกจากนี้ ยังรับงาน เย็บท้ายปฎิทิน อีกด้วย
การเย็บเล่ม เป็นขั้นตอนที่ทำภายหลังการเข้าเล่ม มีหลายวิธีคือ การทากาว (Adhesive Binding)
การเย็บอก
2 การเย็บสัน       เป็นวิธีการเย็บสันหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ด้วยลวดเย็บ กระดาษ เหมาะกับ หนังสือที่มีความหนาไม่มาก มิฉะนั้น จะเปิดกาง หนังสือได้ไม่เต็มที่ นอกเหนือจากการใช้ลวดเย็บกระดาษ อาจยึดเล่ม หนังสือด้วยเกลียว ลวด หรือ เกลียวพลาสติก ด้วยการเจาะรูที่ สันหนังสือแล้วร้อยเกลียวนั้นเข้าไป การเย็บสัน ยังอาจใช้ด้ายเย็บ โดยเจาะรูสันหนังสือก่อนแล้วจึงเย็บด้วย มือหรือเครื่องก็ได้
ถ้าเป็นงานหนังสือมีค่า ราคาแพง หนังสือปกแข็ง จะใช้การเย็บกี่ ซึ่งเป็น วิธีการเย็บสันด้วยด้ายและใช้วิธีการเย็บพิเศษ เพื่อเพิ่มความคงทน และยึดอายุ ุการใช้งานของหนังสือ หนังสือที่เย็บเล่ม ด้วยลวดเย็บ กระดาษ ที่เย็บ ไปด้านบน ของปึกหนังสือ และสามารถมองเห็น ลวดเย็บถ้ามอง จากด้านบนของหนังสือ

 



เปิดร้านตัดสติกเกอร์ ธรุกิจที่ลงทุนต่ำ แต่ได้กำไรสูง
สำหรับคนที่สนใจจะเป็นร้านตัดสติกเกอร์ ซึ่งธุรกิจตัดสติกเกอร์เป็นธุรกิจที่น่าสนใจมาก แต่หลายคนคิดว่ามันต้องลงทุนค่อนข้างเยอะ ใช้งานยากหรือเปล่า ถ้าใช้คอมไม่เป็นแล้วจะเปิดร้านได้ไหม สำหรับปัญหาเหล่านี้ ไม่ต้องกังวลแล้วค่ะ เพราะในทุกวันนี้เครื่องตัดสติกเกอร์ถูกออกแบบมา ให้มีขนาดเล็กลง พร้อมทั้งราคาก็ถูกลงตามไปด้วย ซึ่งเราสามารถเป็นเจ้าของได้ทุกคน เพียงมีเงินลงทุนแค่หลักหมื่นเท่านั้น แม้แต่นิสิตนักศึกษาก็สามารถหาอาชีพเสริมให้ตัวเองได้เช่นกัน
เปิดร้านตัดสติกเกอร์ต้องใช้อะไรบ้าง อย่างแรกที่ต้องมีคือ
เครื่องตัดสติกเกอร์พร้อมซอฟท์แวร์
เครื่องตัดสติกเกอร์ก็จะมีให้เลือกหลายขนาดมาก ตั้งแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลางหรือขนาดมาตรฐาน ขนาดใหญ่ ไปจนถึงขนาดแนวราบ ที่เอาไว้ตัดแพทเทิร์นเสื้อผ้าหรือวัสดุที่ต้องการความแม่นยำสูง การเลือกขนาดของเครื่องตัดสติกเกอร์ขึ้นอยู่กับขนาดของธุรกิจที่ต้องการเปิด ลักษณะงาน สถานที่ที่จะเปิด รวมถึงเงินลงทุนด้วย เมื่อซื้อเครื่องตัดสติกเกอร์ทุกรุ่นเราจะมีซอฟท์แวร์ใช้งานแถมฟรีไปให้ด้วยโดยไม่ต้องซื้อแยก
 
ประเภทของสติ๊กเกอร์ สำหรับ Inkjet
สติ๊กเกอร์สำหรับ Inkjet นั้นภาษาในวงการ Inkjet จะเรียกว่า มีเดีย (Media) ประเภทของสติ๊กเกอร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
• สำหรับใช้ภายใน (Indoor)
• สำหรับใช้ภายในนอก (Outdoor)
สติ๊กเกอร์สำหรับ Inkjet นั้นจะใช้กับเครื่องพิมพ์ Inkjet เฉพาะเท่านั้น เช่นเครื่องพิมพ์ Indoor ก็จะใช้ สติ๊กเกอร์ Indoor เท่านั้น เครื่องพิมพ์ Outdoor ก็จะใช้ สติ๊กเกอร์ Outdoor ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ การใช้งานนั้นมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป
สติ๊กเกอร์สำหรับใช้ภายใน (Indoor Sticker)
การพิมพ์งานสำหรับติดตั้งภายในจะมีสติ๊กเกอร์ให้เลือกใช้หลายชนิดเพื่อตอบโจทย์งานทุกประเภท งานพิมพ์ Indoor เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วต้องทำการเคลือบงานกันการสัมผัสและความชื้น เนื่องจากหมึกที่ใช้เป็นหมึกน้ำ สติ๊กเกอร์ที่นิยมใช้หลักๆ เช่น
PVC Sticker
เป็นสติ๊กเกอร์ที่มีทั้งผิวเงา (Glossy) และผิวด้าน (Matt) ยืดหยุ่นดี นิยมใช้ติดกับวัสดุ เช่น PP Board, Plasswood เป็นต้น เหมาะกับการติดตั้งหน้างาน ใช้งานง่าย

งานพิมพ์ Outdoor นั้นได้เปรียบแบบงาน Indoor คือสามารถใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก เมื่อก่อนเครื่อง Inkjet Outdoor นั้นความละเอียดสู้ Indoor ไม่ได้จึงไม่นิยมใช้ จึงใช้แต่ภายนอกที่มีระยะดูไกลเท่านั้น ปัจจุบันเครื่อง Inkjet Outdoor มีความละเอียดใกล้เคียงเครื่อง Indoor มาก ลูกค้ามักจะใช้งานพิมพ์เครื่อง Outdoor ติดงานภายในในงานถาวรระยะเวลา 5 ปีขึ้นไปเช่น งานพิพิธภัณฑ์ งานตกแต่งออฟฟิศ งานห้างสรรพสินค้า คุณสมบัติของหมึกและสติ๊กเกอร์ Outdoor นั้นมีความคงทนยาวนานเมื่อติดภายในอาคาร
ส่วนงาน Inkjet สติ๊กเกอร์ Outdoor ที่ใช้ภายนอกนั้นจะเป็นพวกงาน ป้ายกล่องไฟ ตกแต่งร้าน ที่โดนแดด โดนฝน สติ๊กเกอร์ที่นิยมใช้หลักๆ เช่น
PVC Sticker Removable
PVC Sticker Removeable นั้นมีคุณสมบัติที่สามารถลอกออกได้โดยไม่ทิ้งคราบกาว โดยด้านจะมีให้เลือกใช้ 3 สี คือ หลังเทา หลังดำ หลังขาว โดยหลังเทากับหลังดำสามารถกั้นแสงได้อีกด้วย

ประเภทของการพิมพ์ การพิมพ์แบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะต่าง ดังนี้
แบ่งตามจุดมุ่งหมายในการ พิมพ์ ได้ 2 ประเภท คือ
1 ศิลปภาพพิมพ์ (GRAPHIC ART) เป็นงานพิมพ์ภาพเพื่อให้เกิดความสวยงามเป็น งานวิจิตรศิลป์
2 ออกแบบภาพพิมพ์ (GRAPHIC DESIGN) เป็นงานพิมพ์ภาพประโยชน์ใช้สอยนอก เหนือไปจากความสวยงาม ได้แก่ หนังสือต่างๆ บัตรต่างๆ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ฯลฯ จัดเป็นงาน ประยุกต์ศิลป์

 กระบวนการหลัก ของวิธีการทำภาพพิมพ์
 แม่พิมพ์ผิวราบ (Planographic Process)
เป็นกระบวนการทำภาพพิมพ์ที่ตัวแม่พิมพ์มีผิวเรียบแบน แต่หลักของการพิมพ์อาศัยกฏเกณฑ์แห่ง ความไม่เข้ากันระหว่าง น้ำกับน้ำมัน แม่พิมพ์จะเป็นหินที่มีเนื้อละเอียดมาก และมีผิวแบนเรียบ รูปที่ต้อง การจะเกิดจากการขีด เขียนหรือวาดระบายด้วยไข ในการพิมพ์ก่อนที่จะกลิ้งหมึกพิมพ์จะต้องใช้น้ำหล่อ เลี้ยงผิวของแม่พิมพ์ให้ชุ่มชื้น เมื่อกลิ้งหมึกพิมพ์ซึ่งเป็นไขผ่านไปบนแม่พิมพ์ หมึกพิมพ์ที่เป็นไขจะติด บนรูปที่วาดด้วยไขเท่านั้น หมึกพิมพ์จะไม่ติดบนผิวหินส่วนที่มีน้ำหล่อเลี้ยงอยู่ แล้วจึงนำเอากระดาษ มาปิดทับบนแม่พิมพ์รีดกดให้หมึกติดกระดาษ เกิดเป็นรูปภาพที่ต้องการได้
 

คำศัพท์ที่เกี่ยวกับการพิมพ์
Chine Colle
เป็นวิธีใช้กระดาษบางของจีนและญี่ปุ่นเพื่อการพิมพ์ กระดาษนี้เรียบเป็นพิเศษและไวต่อการพิมพ์แต่ถูกทำขึ้นเพื่อใช้บนกระดาษอื่น ในภาษาฝรั่งเศส Chine Colle นี้ เราจะทาแป้งเปียกไว้ที่ด้านหลังของกระดาษบางก่อนที่จะคว่ำหน้าบนเพลท ที่มีหมึกซึ่งวางอยู่บนแท่นพิมพ์ จากนั้นจึงวางกระดาษพิมพ์ซึ่งแข็งแรงกว่าทับลงไป เมื่อเราพิมพ์ กระดาษบางจะถูกพิมพ์และเกาะติดกระดาษพิมพ์ในเวลาเดียวกัน
Chop
หรือ Chop mark คือ ตราหรือสัญลักษณ์ที่ช่างพิมพ์ ศิลปิน และผู้จัดพิมพ์ (Print Workshop, Publisher) ใช้ Chop จะถูกทำขึ้นเป็นตราประทับ (stamps) หรือแม่พิมพ์รอยนูน (embossingdies) สำหรับการพิมพ์ตราภาพพิมพ์ ในกรณีบนภาพพิมพ์ไม่มีที่พอหรือไม่มีพื้นที่ของกระดาษเหลือ
Colour Trial Proof
การทดลองพิมพ์เพื่อทดสอบสีก่อนที่จะพิมพ์ edition ภาพทดสอบพิมพ์นี้จะถูกเขียนลงว่า Colour Trial Proof หรือ c.t.p. ตามด้วยเลขอารบิค หรือโรมัน

บริการสั่งงานพิมพ์์  ‪#‎ปั๊มมกร์‬, ‪#‎ปั๊มนูน‬, ‪#‎ปั๊มจม‪#‎diecut‬, ‪#‎embossing ‪#‎รวีวิริยะ ราคาประหยัดถูก



สามารถติดต่อที่  เบอร์บริษัท 02-234-9410

เครดิตบทความจาก : [url=https://rvydiecut.com/][url]https://rvydiecut.com/
[/url]

Tags : เข้าหัวปฏิทิน,ปั๊มจม



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ