ถิ่นกำเนิดสมอไทยและลักษณะทั่วไปของสมอไทย

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ถิ่นกำเนิดสมอไทยและลักษณะทั่วไปของสมอไทย  (อ่าน 50 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: พฤษภาคม 27, 2017, 03:46:24 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement


ถิ่นกำเนิดสมอไทย   
สมอไทยเป็นพืชท้องถิ่นไทย  มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ  พม่า และลาว เป็นต้น  รวมถึงเอเชียใต้ พบเจอได้มากในป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ  ในภาคกลาง อีสาน และภาคเหนือ
ลักษณะทั่วไปสมอไทย 

  • ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 20 – 30 เมตร  เรือนยอดกลมกว้าง เปลือกต้นขรุขระ สีเทาอมดำ เปลือกในสีเหลืองอ่อน  เปลือกชั้นในมีน้ำยางสีแดง  กิ่งอ่อนสีเหลืองหรือสีเหลืองแกมน้ำตาล  มีขนเหมือนไหม เปลือกแตกเป็นสะเก็ดห่างๆ ยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลหนาแน่น
  • ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม หรือเกือบตรงข้าม  รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปรีกว้าง กว้าง 5 – 10 ซม. ยาว 11 – 18 ซม. ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลมโคนกลมหรือกึ่งตัด  หรือบางครั้งเบี้ยว ขอบเรียบแผ่นใบเหนียวคล้ายแผ่นหนัง ผิวด้านบนเป็นเงามันมีขนเล็กน้อย ผิวด้านล่างมมีขนคล้ายไหมถึงขนสั้นหนานุ่ม เมื่อแก่เกือบเกลี้ยง เส้นแขนงใบ ข้างละ 5 – 8 เส้น ก้านใบยาว 5 – 3 ซม. มีขนเหมือนไหม มีต่อม 1 คู่ ใกล้โคนใบ
  • ดอก ออกเป็นช่อคล้ายช่อเชิงลดหรือช่อแยกแขนง มี 3 – 5 ช่อ สีขาวอมเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อนๆ มักจะออกพร้อมๆ กับใบอ่อน ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว 5 – 8.5 ซม. ไม่มีก้านข่อดอก หรือก้านช่อดอกสั้น แกนกลางสั้นและเปราะ มีขนสั้นนุ่ม ดอกสมบูรณ์เพศขนาดเล็ก 3 – 0.4 ซม. ไม่มีกลีบดอก ส่วนบนเป็นรูปถ้วยตื้นมีขนคลุมด้านนอก  ใบประดับรูปแถบ ยาว 3.5 – 4 มม. ปลายแหลม มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีขาวอมเหลือง โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็นแฉก เกลี้ยง รูปคล้ายสามเหลี่ยม เกสรเพศผู้มี 10 กลีบเลี้ยง  ก้านชูอับเรณู ยาว 3 – 3.5 มม. เกลี้ยง จานฐานดอกมีขนเกสรเพศเมียมีรังไข่เหนือวงกลีบ ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 2 – 3.5 มม. รังไข่เกลี้ยง หมอนรองดอกมีพูและขนหนาแน่น
  • ผล แบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีหรือเกือบกลม กว้าง 2 – 2.5 ซม. ยาว 5 – 3.5 ซม.ผิวเกลี้ยง หรือมีสันตื้นๆ ตามยาว 5 สัน เมื่อแก่สีเขียวอมเหลือง หรือสีเขียวปนน้ำตาลแดง
  • เมล็ดแข็ง มี 1 เมล็ด รูปยาวรี ออกดอกเดือนเมษายนถึงมิถุนายน ติดผลราวเดือนกันยายนถึงธันวาคม พบเห็นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง หรือพบตามทุ่งหญ้า ที่สูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึง ประมาณ  1000 เมตร
การขยายพันธุ์สมอไทย
สมอเป็นไม้พื้นเมืองที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดจัดเป็นไม้ขนาดใหญ่ ต้องอาศัยระบบรากแก้วในการหาอาหารและค้ำจุนลำต้น
            ขั้นตอนการขยายพันธุ์

  • เก็บผลสมอที่สุกและแก่เต็มที่จะมีลักษณะผลสีน้ำตาล อมเหลืองนำมาหมักไว้ประมาณ 2 – 3 วัน เพื่อให้เปลือกและเนื้อติดเมล็ดเปื่อยร่อนออกให้เหลือเฉพาะเมล็ดข้างใน
  • นำเมล็ดที่ได้นำมาล้างน้ำให้สะอาดและนำมาตากแดดให้แห้งประมาณ 3 – 5 แดด
  • เตรียมกระบะเพาะด้วยไม้ทำคอกไม้สี่เหลี่อม ภายในกระบะเพาะประกอบวัสดุเพาะในส่วนผสมของแกลบสุก ดินร่วนปนทราย ขุมมะพร้าว เศษซากใบไม้ที่เน่าเปื่อยได้ง่ายนำมาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน
  • นำเมล็ดสมอที่ตากแห้งแล้วนำมาหว่านบนวัสดุเพาะภายในกระบะเพาะ และนำเศษซากใบไม้แห้งสับเป็นชิ้นเล็กๆ นำมาคลุกทับเมล็ดสมอบางอีกครั้งหนึ่ง
  • รดน้ำทุกครั้งที่มองเห็นว่าวัสดุเพาะแห้งไม่จำเป็นต้องรดน้ำทุกวันเพาะจะทำให้เมล็ดเน่า
  • สถานที่ในการเตรียมกระบะเพราะชำกล้าไม้จะต้องเป็นที่ร่มรำไร ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 45 – 60 วัน เมล็ดก็จะเริ่มงอก
  • เมื่อต้นกล้ามีการเจริญเติบโตมีความสูงของลำต้นประมาณ 5 เซนติเมตรมีใบจริง 2 – 3 ใบ ให้ทำการเปลี่ยนต้นกล้าใส่ถุงเพาะชำ รดน้ำบำรุงจนกว่าต้นกล้าจะเจริญเติบโตแข็งแรงและนำไปปลูกต่อไป

 
 

Tags : กระชายดำ,กวาวเครือขาว,เจียวกู่หลาน



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า

watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2017, 08:05:52 am »

ต้นกำเนิดของสมอไทยและลักษณะของสมอไทย

บันทึกการเข้า

หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ