Advertisement
[b]สมุนไพร[/b][/i][/b].com/wp-content/uploads/2017/09/222.jpg" alt="" border="0" />
นกกะลิ[/b]
นกกะลิง หรือพื้นที่พายัพเรียก นกกะแลมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Psittacula himalayana finchii (Hume)จัดอยู่ในวงศ์ Psittacidaeมีชื่อสามัญว่า gray – headed parakeet หรือ slaty – headed parakeetชีววิทยาของนกกะลิงนกนี้เป็นนกปากโค้งกระเป๋านขอประเภทหนึ่ง ความยาวยาวของตัววัดจากปลายปากถึงปลายหายราว ๔๖ ซม. ความยาวนี้เป็นความยาวของหางราวครึ่งหนึ่ง ปากบนสีแดงปลายเหลือง ปากข้างล่างสีเหลือง ตาสีดำ หัวสีเทาแก่ ที่คอมีแถบดำใหญ่พาดจากรอบๆใต้คางไปถึงข้างหลัง แถบนี้จะค่อยๆเรียวเล็กลงจนถึงเหลือเป็นเพียงแต่เส้นเล็กๆที่กำดัน ก้านคอใต้เส้นดำเป็นสีฟ้า ใต้ปีกสีน้ำเงินอมเขียว หางยาว ตอนบนสีฟ้ามึงอมเขียว ปลายเหลือง เมื่อดูผาดๆจะเห็นเป็นนกที่มีสีเขียว ตัวผู้มีแต้มสีสีแดงเข้มที่ที่หัวปีกข้างๆ และแถบดำที่คางมีขนาใหญ่กว่าของตัวเมีย นกกะลิงอยู่รวมกันเป็นฝูง มักพบทางภาคเหนือที่ระดับความสูงจากระดับน้ำมะเลปานกลาง ๖๐๐ – ๑,๒๐๐ เมตร นกชนิดนี้กินผลไม้ เมล็ดพืชและยอดอ่อนของพืช สร้างรังตามโพรงไม้ ออกไข่คราวละ ๒ – ๕ ฟอง ในระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ไข่ค่อนข้างจะกลม สีขาว ใช้เวลาฟัก ๒๒ – ๒๕ วัน
สรรพคุณทางยาหมอแผนไทยตามชนบทใช้เลือดนกกะลิงผสมกับยาอื่น เป็นยาบำรุงเลือด แก้โรคโลหิตจางรวมทั้งเลือดพิการ
[url=http://www.disthai.com/]สมุนไพร ใน พระหนังสือชวดารให้ยาขนานหนึ่ง เป็นยาแก้ลมกล่อน ยาขนานนี้เข้า “หางนกกะลิง” เป็นเครื่องยาด้วยดังนี้ ยาแก้ลมกล่อน อัณฑะเจ็บเมื่อยล้าตายไปข้างหนึ่ง อีกทั้งกายก้ดี เอายาเข้าเย็น ๑ พันพาย ๑ พรมคตตีนเต่า ๑ หางนกกะลิง ๑
[url=http://www.xn--42cg8cuanoj5b9czdzg.com/2017/07/%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87/]กำลังวัวเถลิ[/color] ๑ หนวดนาคราช ๑ เอาเท่ากัน ต้มทากล่อนลม หายแล