คำอธิบายพัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทย สุษม ศุภนิตย์

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายพัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทย สุษม ศุภนิตย์  (อ่าน 27 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
attorney285
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41755


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: เมษายน 30, 2018, 01:49:15 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

คำอธิบายพัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทย สุษม ศุภนิตย

[/url]ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ https://www.attorney285.co.th/p/2290
คำอธิบายพัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทย สุษม ศุภนิตย์
ผู้แต่ง : สุษม ศุภนิตย์
ปีที่พิมพ์: พิมพ์ครั้งที่ 1/2554
จำนวนหน้า: 232 หน้า
ขนาด A5
รูปแบบ ปกอ่อน
 
สารบัญ
 
บทที่  1 บทนำ 
บทที่  2 ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคหลังการประกาศใช้
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค  พ.ศ. 2522
 2.1 บทบัญญัติของพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค  พ.ศ. 2522
  2.1.1 ความหมายของคำว่า  “ผู้บริโภค”
  2.1.2 วิธีเยียวยาความเสียหาย
  2.1.3 ขาดบทบัญญัติเกี่ยวกับบริการที่เป็นอันตราย
  2.1.4 ขาดการคุ้มครองด้านการทำสัญญา
 2.2 การบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค  พ.ศ. 2522
 2.3 บทบาทของผู้บริโภคและองค์การเอกชนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค
 2.4 บทบาทของผู้ประกอบธุรกิจ 
บทที่  3 พัฒนาการของแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับผู้บริโภค
 3.1 แนวโน้มการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาครัฐในการแก้ไขปัญหาของผู้บริโภค
 3.2 การผลักดันให้มีการแก้กฎหมายที่รับรองความเป็นองค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภค
บทที่  4 กฎหมายเกี่ยวกับระบบการคุ้มครองผู้บริโภคหลังปี  พ.ศ.  2541
 4.1 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค  พ.ศ.  2551
  4.1.1 หลักการของกฎหมาย
  4.1.2 คดีอย่างไร  เป็นคดีผู้บริโภค 
  4.1.3 กระบวนพิจารณาคดีที่แตกต่างจากคดีแพ่งทั่วไป
   4.1.3.1 การฟ้องคดี
   4.1.3.2 กระบวนการก่อนเริ่มพิจารณาคดี
    1) การมีพนักงานคดี  ทำหน้าที่ตามที่กำหนดเพื่อ
     คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
    2) การไกล่เกลี่ยก่อนเริ่มพิจารณาคดี
    3) การยื่นขอให้สืบพยานไว้ล่วงหน้ากันการสูญหาย
   4.1.3.3 กระบวนการพิจารณาคดี
   4.1.3.4 การซักถามพยาน
    1) การกำหนดให้ศาลมีอำนาจซักถามพยานได้เอง
    2) หลักเกี่ยวกับการพิสูจน์ข้อเท็จจริงในความรู้เห็น
     โดยเฉพาะของคู่ความฝ่ายที่เป็นผู้ประกอบการ
  4.1.4 การยกเว้นการนำสืบเปลี่ยนแปลงพยานเอกสาร
  4.1.5 คำพิพากษา
  4.1.6 การกำหนดค่าเสียหายเพื่อการลงโทษ
  4.1.7 อำนาจในการพิจารณาให้บุคคลผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจ 
   แม้มิได้เป็นจำเลยในคดีต้องรับผิดต่อผู้บริโภค  ผู้ฟ้องคดี
  4.1.8 ผลของคำพิพากษาที่มีต่อผู้เสียหายในคดีอื่น
 4.2 พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย 
  พ.ศ.  2551
  4.2.1 หลักการที่สำคัญในกฎหมาย   PL Law   ฉบับปี พ.ศ.  2551  
   ซึ่งแตกต่างจากหลักในประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์
  4.2.2 การกำหนดความหมายคำว่า  “สินค้าไม่ปลอดภัย”
  4.2.3 ใครคือผู้เสียหายในกฎหมาย  PL Law 
  4.2.4 ใครเป็นผู้ต้องรับผิด  รับผิดอย่างไร
  4.2.5 เงื่อนไขความรับผิด
  4.2.6 ข้อแก้ตัวของผู้ประกอบการลำดับรอง
  4.2.7 ข้อตกลงยกเว้นความรับผิด
  4.2.8 ค่าเสียหาย
  4.2.9 การฟ้องคดี
  4.2.10 อายุความ  และการเจรจาเรื่องค่าเสียหายนอกศาล
 4.3 แนวทางการดำเนินการเพื่อให้มีองค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภค
  ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ  พ.ศ.  2550
  4.3.1 ร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระผู้บริโภค 
   พ.ศ. ...  โดยสหพันธ์องค์กรผู้บริโภค
   1) ลักษณะขององค์กร
   2) การบริหารและอำนาจหน้าที่
   3) ปฏิสัมพันธ์กับประชาชนผู้บริโภค
   4) งบประมาณ  การได้มา  และการบริหารจัดการงบประมาณ
  4.3.2 ร่างกฎหมายองค์การเอกชนคุ้มครองผู้บริโภค
   ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
   1) ลักษณะขององค์กร
   2) การบริหารและอำนาจหน้าที่
   3) ปฏิสัมพันธ์กับประชาชนผู้บริโภค
   4) งบประมาณ  การได้มา  และการบริหารจัดการงบประมาณ
บทที่  5 บทสรุป
 5.1 ภาพรวมของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทยหลังปี  พ.ศ.  2551
 5.2 ข้อสังเกตหลังจากมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคุ้มครองผู้บริโภค 
  พ.ศ.  2551  และพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า
  ที่ไม่ปลอดภัย  พ.ศ.  2551
  5.2.1 การใช้สิทธิฟ้องคดีตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคของ
   ผู้ประกอบการ
  5.2.2 ความหมายของคำว่า  “คดีผู้บริโภค”
  5.2.3 การกำหนดให้มีระบบไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนพิจารณาคดี  ควรเป็นงานของ
   สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือองค์การเอกชนคุ้มครองผู้บริโภค
  5.2.4 การเตรียมความพร้อมของภาคธุรกิจเมื่อ   พระราชบัญญัติความรับผิด
   ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย  พ.ศ.  2551
  5.2.5 ความตื่นตัวของผู้บริโภคภายหลังมีกฎหมายใหม่  2  ฉบับในปี  พ.ศ.  2551
  5.2.6 อุปสรรคของการก่อตั้งองค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภค
 5.3 แนวโน้มของการคุ้มครองผู้บริโภคของไทย
  5.3.1 บทบาทภาครัฐ
  5.3.2 บทบาทภาคเอกชนผู้ประกอบธุรกิจ
  5.3.3 บทบาทภาคประชาชนผู้บริโภค
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
ดัชนีคำ
ประวัติผู้เขียน

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "[url]https://www.attorney285.co.th/category/59[/url]​
*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ