สารกรองน้ำ

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: สารกรองน้ำ  (อ่าน 16 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Puttichai9876
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 25904


ดูรายละเอียด










« เมื่อ: พฤษภาคม 25, 2018, 01:53:08 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

สารกรองน้[/b]

[url=http://teewatertechs.com/index.php?page=category&category=22]สารกรองน้[/b]
 
[url=http://teewatertechs.com/index.php?page=category&category=22]สารกรองน้สารกรองน้ำและไส้กรองเพราะสารกรองและไส้กรองน้ำก็มีอายุการใช้งาน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของน้ำที่ผ่านเครื่องกรองน้ำด้วย ทางที่ดีควรเปลี่ยนสารกรองน้ำและไส้กรองน้ำให้ตรงตามกำหนดเวลา
ปัจจุบั
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.1 ขนาด 0.5 – 0.8 มม.
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.2 ขนาด 1 -2 มม.
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.3 ขนาด 2 – 5 มม.
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.4 ขนาด 5 – 10 มม.
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.5 ขนาด 10 – 15 มม.
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.6 ขนาด 15 – 20 มม.
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.7 ขนาด 20 – 30 มม.
 กรวด-ทราย (คัดขนาด) No.8 ขนาด 30 – 40 มม.
ประเภท
 1. เก็บตะกอนน้ำไว้ที่ผิวภายนอกของสารวัตถุ
 2. สามารถดักจับตะกอนไว้ได้เป็นจำนวนมาก
 3. สามารถกรองน้ำได้จนถึงขั้นที่อยู่ลึกลงไปชั้นล่าง ๆ ด้วย
 4. การชำระล้างน้ำทำความสะอาดทำได้อย่างง่ายดาย
 5. มีคุณสมบัติทนทานต่อการกัดกร่อนของสารเคมีในอัตราสูง
การกรอง (Filtration)
 การกรองแบบติด ค้างในชั้นกรอง จะมี 3 ชนิดคือ
 • Slow Sand Filter Flow Rate
 • Rapid Sand Filter Flow Rate
 • Multimedia Filter (Anthracite & Sand)
 ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการกรองแบบติดค้างในชั้นกรอง
Slow Sand Filter
เป็นแบบที่ประหยัด ใช้กับน้ำที่มีความขุ่นต่ำ การกรองน้ำด้วยอัตราต่ำ เหมาะสำหรับใช้ในชนบทปกติ อัตรากา
Rapid Sand Filter
เครื่องกรองน้ำแบบนี้ เป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่ใช้ในโรงกรองน้ำทั่ว ๆ ไป ซึ่งปกติจะใช้ Media เป็นทรายกรอง สามารถกรองน้ำได้สูงกว่าเครื่องกรองน้ำได้สูงสุดกว่าเครื่องกรองหลายสิบเท่า ปกติอัตราการไหลของน้ำ
Multimedia Filter (แอนทราไซท์ & ทรายกรอง)
เป็นการกรองที่ใช้กันทั่ว ๆ ไป ในถังกรองรุ่นใหม่ ใช้กับน้ำที่มีความขุ่นสูง โดยมีอัตราการกรองสูงกว่า แบบถังกรองทรายธรรมดา มีอัตราการไหลของน้ำ
ประโยชน์ ของระบบการกรองน้ำที่ใช้แอนทราไซท์
ปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงมาใช้แอนทราไซท์ แทนทรายกรองน้ำ ซึ่งมีคุณสมบัติที่ดีกว่า ดังนี้
 1. แอนทราไซท์ มีลักษณะเป็นคาร์บอนชนิดหนึ่ง มีพ้นผิวเป็นเหลี่ยมมุม สามารถกรองตะกอนแขวนลอยที่ปะปนมากับน้ำได้มากกว่าทรายซึ่งมีลักษณะเป็นทรงกลม (ตะกอนแขวนลอยจะมีมากในน้ำในใต้ดิน เช่น น้ำ บาดาล)
 2. แอนทราไซท์ มีน้ำหนักน้อยกว่าทราย จึงทำให้การล้างกลับ (Back Wash) ได้ง่ายกว่าทราย ดังนั้น ปริมาณการใช้น้ำล้างกลับ และแรงดันของน้ำจึงน้อยกว่าทรายในขนาดเครื่อง กรองเท่ากัน ซึ่งจะมีผลทำให้ ประหยัดค่ากระแสไฟฟ้า เพิ่มขึ้นด้วย
 3. การใช้แอนทราไซท์กรองน้ำแทนทราย ทำให้อัตราการผลิตน้ำมากกว่าการใช้ทรายกรอง ในขณะที่ ขนาดเครื่องกรองเท่ากัน เนื่องจากแอนทราไซท์จะมีความพรุนระหว่างชั้นมากกว่าทราย ทำให้สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตน้ำได้มากขึ้น โดยไม่ต้องขยายบ่อกรองมีผลทำให้ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว
 4. ลักษณะของเม็ดแอนทราไซท์จะใหญ่กว่าทราย แต่มีน้ำหนักเบากว่า ดังนั้น ภายหลังการล้างกลับแอนทราไซท์จะอยู่เหนือทราย ลักษณะเช่นนี้ จะทำให้ชั้นกรองทำหน้าที่ดีขึ้น สามารถ กรองความขุ่นได้ในปริมาณมากกว่าเครื่องกรองทรายทำให้ปริมาณน้ำใสมากกว่า นอกจากนี้ ยังสามารถรับน้ำดิบที่มีความขุ่นสูงกว่าเครื่องกรองแบบทราย
[url=http://teewatertechs.com/index.php?page=category&category=22]สารกรองน้ำ แอคติเวท คาร์บอ
 จับของ ADSORBATE เรียกว่า ADSORBENT ตัวอย่างของการดูดติดผิวของโมเลกุลสี บนถ่านเเอ็คติเว้ตเต้ดคาร์บอน (ACTIVATED CARBON)
 การเกาะจับของโมเลกุลบนผิวของสารอาจเกิดขึ้นด้วยเเรงกายภาพ (เช่นVANDER WAAL FORCE) หรือด้วยแรงเคมี หรือทั้งสองอย่างรวมกัน โดยทั่วไปการเกาะติดผิวในระบบประปามักถือเป็นขบวนการทางกายภาพ เพราะโมเลกุลถูกดูดให้เกาะบนผิวของของเเข็งโดยเเรงกายภาพ และมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นน้อย
การดูดติดผิวมีบทบาทไม่น้อยในระบบผลิตน้ำประปา เนื่องจากสามารถกำจัดสารมลทินที่มีขนาดเล็ก จนถึงขั้นโมเลกุลซึ่งไม่อาจกำจัดได้ด้วยวิธีตกตะกอน หรือการกรองแบบธรรมดา
1.ประเภทของแอ็คติเว้ดเต็ดคาร์บอน
 สารที่มีอำนาจดูดโมเลกุลต่างๆมาติดผิวได้ (ADSORBENT)มีหลายชนิดซึ่งอาจเเบ่งได้เป็นสามประเภท ดังนี้
1.ประเภท อนินทรีย์ เช่น ดินเหนียวชนิดต่างๆ แมกนีเซียมออกไซด์ ถ่านกระดูก แอคติเว้ดเต็ดซิลิก้า ฯลฯ สารธรรมชาติมักมีพื้นผิวจำเพาะ ประมาณ 50-200 ม/กรัม อย่างไรก็ตาม มีข้อเสียคือจับเลกุลหรือคอลลอยด์ได้เพียงไม่กี่ชนิดทำให้การใช้ประโยชน์จากสารดูดติดผิวประเภทสารอนินทรีย์มีจำนวนจำกัดมาก
 2.แอ็คติเว้ดเต็ดคาร์บอน อันที่จริงคาร์บอนชนิดนี้อาจจัดเป็นสารอนินทรีย์สังเคราะห์ก็ได้ เเต่เป็น ADSORBENT ที่ดีกว่าสารอนินทรีย์ชนิดอื่นๆ เนื่องจากมีพื้นผิวจำเพาะประมาณ 200-1000 ม/กรัม
 3.ประเภทสารอินทรีย์สังเคราะห์ ได้แก่ สารเรซิน-เเลกเปลี่ยนไอออน (ION EXCHANGE RESIN) ชนิดพิเศษที่สังเคราะห์ขึ้นมา เพื่อกำจัดสารอินทรีย์ต่างๆ (มักเป็นประเภทที่เรียกว่า MACROPOROUS RESIN) สารเรซินเหล่านี้มีพื้นที่ผิวจำเพาะ ประมาณ 300-500 ม/กรัม (ซึ่งถือว่าตำเมื่อเปรียบเทียบกับของเเอ็คติเว้ตเต้ดคาร์บอนด์) เเต่อย่างไรก็ตามเรซินมีข้อได้เปรียบกว่า คือสามารถรีเจนเนอเรตได้ง่ายกว่ามาก และรีเจนเนอร์แรนด์มักเป็นสารราคาถูกเช่น เกลืแกง สำหรับในประเทศไทยความเหมาะสมในการใช้เรซินดูดติดผิว อาจมีมากกว่า แอ็คติเว็ตคาร์บอน เมื่อคำนึงถึงข้อจำกัดในเรื่องของรีเจนเนอเรชัน (REGENERATION)
แอ็คติเว็ตเต็ดคาร์บอน (ACTIVATED CARBON) เป็นถ่านที่สังเคราะห์ขึ้นมาเป็นพิเศษ เพื่อให้มีพื้นที่ผิวมากที่สุด ซึ่งทำได้โดยการทำให้มีรุพรุน หรือโพรงภายในเนื้อคาร์บอนมากเท่าที่จะทำได้ (ดูภาพที่ 1) รูพรุน หรือโพรงมีขนาด ตั้งเเต่ 20 ถึง 20,000 การสังเคราะห์คาร์บอนชนิดนี้ กระทำได้โดยไล่ความชื้นออก จากวัตถุดิบ เสียก่อน จากนั้นจึงเผาวัตถุดิบที่แห้งให้เป็นถ่าน ที่อุณหภูมิประมาณ 400-600 ซ. คาร์บอนที่ได้ยังมีอำนาจดูดติดผิวต่ำ เนื่องจากโพรงภายในคาร์บอน ยังมี TAR อุดตันอยู่ คาร์บอนนี้จึงต้องเผาต่อไปที่อุณหภูมิประมาณ 750-950 ซ. ภายใต้ความชื้นที่เหมาะสมเพื่อไล่ TAR ออกให้หมด (ขั้นตอนนี้เรียกว่า ACTIVATION) จึงจะได้แอ็คติเว็ตเต้ดคาร์บอน วัตถุดิบที่ใช้สังเคราะห์ แอ็คติเว็ตเต็ดคาร์บอน มีหลายชนิดเช่น กระดูกสัตว์, ถ่านหินบางขนิด, กะลา, มะพร้าว, เมล็ดในของผลไม้บางชนิด ฯลฯ เทคโนโลยี ปัจจุบัน สามารถทำให้แอ็คติเว็ตคาร์บอน หนัก 1 กรัม มีพื้นที่ผิว ประมาณ 600-1000 ตร.ม.
การที่คาร์บอนต้องมีพิ้นที่ผิวสูงก็เพื่อให้สามารถดูดโมเลกุลจำนวนมากๆ มาเกาะติดที่ผิวได้ พื้นที่ผิวจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดสมรรถนะของคาร์บอน ด้วย เหตุนี้คาร์บอนที่มีพื้นที่ผิวจำเพาะ (ม/กรัม) สูงจึงมีอำนาจ หรือ ขีดความสามารถในการดูดติดผิวสูงตามไปด้วย การวัดพื้นที่ผิวของคาร์บอนกระทำได้โดยการหาปริมาณไนโตรเจนที่ถูกคาร์บอนดูดเก็บไว้ วิธีวัดสมรรถนะของคาร์บอนอาจกระทำได้โดยการวัด IODINE NUMBER ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับพื้นที่ผิวของ คาร์บอน หรือ อาจวัด MOLASS NUMBER แทน IODINE NUMBER แสดงถึงสมรรถนะ ของคาร์บอนในการกำจัดสารที่มีโมเลกุลเล็ก ส่วน MOLASS NUMBER เเสดงถึงสมรรถนะ ในการกำจัดสารที่มีโมเลกุลใหญ่ ด้วยเหตุนี้ ขบวนการดูดติดผิวที่ใช้ในระบบประปา จึงนิยมใช้ไอโอดีนนัมเบอร์มากกว่า โมลาสนัมเบอร์ หรือ พารามิเตอร์ตัวอื่น ทั้งนี้เพราะ น้ำดิบมักมีสารโมเลกุลเล็กมากกว่าสารโมเลกุลใหญ่ แอ็คติเว็ตคาร์บอนที่ใช้ในงานวิศวกรรมสิ่งเเวดล้อมมีสองประเภทคือ แบบ ผง (POWDER ACTIVATED CARBON หรือ PAC)
 เเละ เเบบเกล็ด (GRANULAR ACTIVATED CARBON หรือ GAC) หรือ ระบบประปาอาจใช้คาร์บอน ชนิดใดก็ได้
1.คาร์บอนแบบผง (POWDER ACTI
 
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง : [url=http://www.teewatertech.com]รับติดตั้งโรงงานน้ำดื่ม


เครดิตบทความจาก : [url]http://www.teewatertech.com[/url]

Tags : สารกรองน้ำ,รับติดตั้งโรงงานน้ำดื่ม,โรงงานผลิตน้ำดื่ม



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ