Advertisement
แนววิถีทางพื้นฐานของการทำเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นระบบ ก็คือ จะต้องเป็นการทำเกษตรแบบองค์รวม ที่แตกต่างจากระบบเกษตรแนวใหม่ที่มุ่งเน้นเรื่องการเพิ่มจำนวนผลผลิต แต่จะให้ความสนใจเฉพาะแต่ผลผลิตของพืชหลัก และต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อมด้วย
สำหรับวิธีการทำ
เกษตรอินทรีย์ ถือเป็นเกษตรแบบองค์รวมที่จะต้องให้ให้ความสำคัญกับการเอาใจใส่กับธรรมชาติ และระบบนิเวศต่างๆ ที่มีผลในด้านการเกษตร โดยเฉพาะการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน, การรักษาแหล่งน้ำ รวมไปถึงการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพของฟาร์มเกษตรด้วย โดยทั้งนี้แนวทางเกษตรอินทรีย์ จะอาศัยกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศในการทำการผลิตผลผลิตหลัก
และจากเหตุผลที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น ข้อมูล
การทำเกษตรอินทรีย์ จึงถือเป็นการทำเกษตรที่ห้ามการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีใดๆ (แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางส่วน ดูเรื่อง เคมีในการทำเกษตรอินทรีย์ ที่
http://goo.gl/YPVaL0 ) และเนื่องจากสารเคมีการเกษตรอาจมีผลกระทบต่อกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศที่มีส่วนสำคัญในการทำเกษตรแนวนี้ เพราะนอกเหนือจากการปฏิเสธการใช้สารเคมีการเกษตรแล้ว จะทำเกษตรอินทรีย์ได้อย่างไรยังให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลของวงจรของธาตุอาหาร, การประหยัดพลังงาน, การอนุรักษ์ระบบนิเวศการเกษตร และการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งถือได้ว่าเกษตรอินทรีย์เป็นการบริหารจัดการฟาร์มเชิงบวก (positive management)
และการจัดการเชิงบวกนี้เองที่ทำให้ทำเกษตรอินทรีย์ให้เป็นแตกต่างไปจากการเกษตรอื่นๆ ที่ไม่ใช้สารเคมีแบบปล่อยปะละเลย (ที่เกษตรทั่วไปมักอ้างว่าเป็นการทำเกษตรตามแบบธรรมชาติ) หรือเกษตรปลอดสารเคมีและเกษตรไร้สารพิษที่เฟื่องฟูในบ้านเรามานานหลายปี ที่ไม่ได้เว้นการใช้เคมีอย่างจริงจัง และเนื่องจากการทำเกษตรวิธีนี้เป็นการเกษตรที่ให้ความสำคัญกับการ ทำฟาร์มเชิงสร้างสรรค์ เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศการเกษตรในไร่นา
ดังนั้นเกษตรกรที่หันมาท
เกษตรอินทรีย์[/url]จึงจำเป็นต้องพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยว กับธรรมชาติและการบริหารจัดการฟาร์มของตนเพิ่มขึ้นด้วย ผลที่ตามมาก็คือเกษตรอินทรีย์จึงเป็นแนวทางการเกษตรที่ตั้งอยู่บนกระบวนการ แห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา เพราะเกษตรกรต้องสังเกต, ศึกษา, วิเคราะห์-สังเคราะห์ และสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการทำการเกษตรของฟาร์มตนเอง ซึ่งจะมีเงื่อนไขทั้งทางกายภาพ (เช่น ลักษณะของดิน ภูมิอากาศ และภูมินิเวศ) รวมถึงเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น เพื่อคัดสรรและพัฒนาแนวทาง
เกษตรอินทรีย์ที่เฉพาะและเหมาะสมกับฟาร์มของ ตัวเองอย่างแท้จริง
สำหรับกลางปี 2557 ประเทศสหรัฐอเมริกาและเกาหลีได้บรรลุข้อตกลงความเท่าเทียมของการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สำหรับสินค้าแปรรูปเกษตรอินทรีย์ ที่แปรรูปในประเทศเกาหลีหรือสหรัฐอเมริกา
สินค้าเกษตรอินทรีย์แปรรูปของแต่ละประเทศจะได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของอีกประเทศโดยอัตโนมัติ และสามารถใช้ตรารับรองเกษตรอินทรีย์ของอีกประเทศได้ด้วย
ข้อตกลงนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฏาคม 2557 ที่ผ่านมา แต่ไม่ครอบคลุมสินค้าที่เป็นผลผลิตสด (ไม่ได้ผ่านการแปรรูป ตามนิยามของผลผลิตแปรรูปของกฏหมายการทำเกษตรอินทรีย์
แต่หากชาวบ้านทั่วไปที่ไม่มีพื้นที่ หรือพื้นที่น้อย สามารถดูวิธีการทำ
เกษตรอินทรีย์แบบธรรมชาติได้จากเว็บ
http://xn--12c4bgh0cdc7bzb8do6j9g.blogspot.comแสดงภาพประกอบจาก internet
Tags : เกษตรอินทรีย์,การทำเกษตรอินทรีย์,เกษตรพอเพียง