งานวางระบบประปาภายในอาคาร

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: งานวางระบบประปาภายในอาคาร  (อ่าน 16 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Brandexdirectory
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 7492


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: พฤษภาคม 28, 2018, 01:25:06 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement



ระบบท่อจ่ายน้ำภายในอาคารสูง

          ท่อจ่ายน้ำประปาภายในอาคารนิยมใช้เป็นท่อเหล็กชุบสังกะสี เพื่อป้องกันการเกิดสนิม ท่อพีวีซี ท่อ HDPEและท่อ HDPB การติดตั้งท่อประปาเพื่อจ่ายน้ำประปาในอาคารจะต้องคำนวณอัตราการไหลและแรงดันที่อุปกรณ์ใช้น้ำต้องการ การออกแบบท่อประปาที่มีขนาดเล็กเกินไปจะเกิดแรงเสียดทานในท่อมาก เครื่องสูบน้ำจะต้องทำงานหนักและน้ำไหลช้า ท่อจ่ายน้ำประปาจะต้องติดตั้งอุปกรณ์เปิด-ปิด เพื่อความสะดวกในการบำรุงรักษา


ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้นหมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้นจากชั้นล่างของอาคารไปแจกจ่ายทั่วอาคาร จนถึงชั้นบนของอาคาร ดังแสดงในภาพที่ โดยความดันน้ำของท่อประปาประธานที่จ่ายต้องมีมากเพียงพอที่จะจ่ายน้ำประปาให้แก่ผู้ใช้น้ำที่อยู่ชั้นบนๆ ถ้าต้องเดินท่อจ่ายยาวมาก อาจทำให้ความดันลดเนื่องจากความยาวของท่อมีมาก ทำให้ความดันน้ำภายในท่อลดลงมาก ซึ่งอาจจำเป็นต้องติดตั้งเครื่องสูบน้ำหรือถังอัดความดันไว้ที่ชั้นล่าง เพื่อทำหน้าที่สูบจ่ายน้ำประปาขึ้นในอาคารโดยตรง ดังแสดงในภาพที่ อาคารที่มีขนาดสูงเกิน 10 ชั้น และหรือมีพื้นที่อาคารเกิน 10,000 ตร.เมตร ไม่ควรใช้วิธีจ่ายน้ำประปาขึ้น แม้ว่าจะมีเครื่องสูบน้ำ และถังอัดความดันช่วยก็ตาม เพราะไม่ประหยัดพลังงานไฟฟ้าและขนาดของถังอัดความดันจะมีขนาดใหญ่จนเกินไป

ระบบจ่ายน้ำประปาลง หมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาจากชั้นบนสุดไหลลงจ่ายทั่วอาคารไปจนถึงชั้นล่าง ดังแสดงในภาพที่ หลักการของระบบจ่ายน้ำประปาลงคือ น้ำประปาไหลจากท่อประปาประธานเข้าสู่ถังเก็บน้ำใต้ดิน มีเครื่องสูบน้ำทำการสูบน้ำประปาขึ้นไปเก็บไว้ในถังน้ำบนหลังคาของอาคาร น้ำประปาจากถังเก็บน้ำบนหลังคาจะจ่ายลงไปทั่วอาคาร ระบบจ่ายน้ำประปาวิธีนี้นิยมใช้กับอาคารสูง 3 ชั้นขึ้นไป ซึ่งวิธีจ่ายน้ำประปาลงจะเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างมากที่สุด ยกเว้นบางอาคารที่ไม่สามารถติดตั้งถังเก็บน้ำบนหลังคาได้เลย จึงจำเป็นต้องเลือกใช้ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้น ความดันของระบบจ่ายน้ำประปาลงจำเป็นต้องพิจารณาขนาดความดันน้ำ ณ ระดับสูงต่างๆ  ของอาคารโดยเฉพาะบริเวณชั้นบนสุดและชั้นล่างสุด เพราะบริเวณชั้นบนสุดจะมีขนาดความดันน้ำต่ำสุดของอาคารและบริเวณชั้นล่างสุดจะมีขนาดดันน้ำสูงสุดของอาคาร


นี่คือภาพโฆษณาที่ลงในหนังสือ The Catalogue 2018
ท่านสามารถติดต่อขอรับหนังสือได้ที่สำนักงาน
หรือ ดาวน์โหลด E-BOOK ได้ที่นี่ >>>Click<<<




บริษัท แสนตรีพุธ วิศวการ จำกัด ผู้เชี่ยวชาญงานด้านระบบวิศวกรรมงานระบบภายในบ้าน อาคาร ที่พักอาศัย ไม่ว่าจะเป็น การบริหารงานระบบ การติดตั้ง ตรวจเช็ค ซ่อมบำรุงรักษา ต่อเติม ระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบไฟฟ้าสื่อสาร ระบบประปา ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบป้องกันอัคคีภัย

งานบริหาร และที่ปรึกษางานวิศวกรรมระบบภายในอาคาร
     การบริหารอาคารในปัจจุบัน นอกจากการบริหารจัดการด้านการเงิน การบัญชีแล้ว การบริหารด้านงานระบบวิศวกรรมก็มีความสำคัญเช่นกัน เนื่องจากทุกอาคารจะต้องมีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ที่อำนวยความสะดวก ความปลอดภัยซึ่งการทำงานของอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรต่างๆ จำเป็นจะต้องมีการดูแลบำรุงรักษาอย่างถูกต้อง และเป็นมาตรฐาน เพื่อให้อุปกรณ์เครื่องจักรนั้นอยู่ในสภาพที่สามารถพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา   

 บริการงานติดตั้งระบบใหม่ สำหรับอาคารที่ก่อสร้างใหม่ หรืออาคารที่ต้องการต่อเติมระบบต่างๆ รวมถึงงานปรับปรุง ซ่อมแซม ระบบภายในอาคารที่มีปัญหาชำรุด ต้องการปรับปรุงหรือแก้ไขให้ใช้งานได้ตามปกติ ไม่ว่าจะเป็นระบบไฟฟ้า, ระบบประปา, ระบบบำบัดน้ำเสีย, ระบบสระว่ายน้ำ, ระบบป้องกันอัคคีภัย

บริการพิเศษอื่นๆ
  • ตรวจวัดวิเคราะห์ และคำนวณการใช้พลังงาน และวางแผน มาตรการเพื่อลดค่าใช้จ่าย
  • บริการงานเขียนแบบด้วยโปรแกรม Auto Cad และ Scan (Pdf. File) แบบเก่าที่ใกล้ชำรุด
  • วางระบบการโปรแกรมบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยคอมพิวเตอร์ (โปรแกรมลิขสิทธิ์) พร้อมให้คำปรึกษาจัดเตรียมข้อมูล



สนใจติดต่อ
แสนตรีพุธ วิศวการ บจก.
68/9 หมู่ 5 หมู่บ้านทิพวัล ซ. 21 ถ. เทพารักษ์ ต. บางเมืองใหม่ อ. เมือง จ. สมุทรปราการ 10270
โทรศัพท์ : +662 758 0942 , +6697 2369 046
โทรสาร : +662 758 0417
อีเมล : saentriputh_2555@hotmail.co.th
www.saentriputh.com
Saentriputh.brandexdirectory.com



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ