Advertisement
หลักกฎหมายปกครองและวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง วนิดา แสงสารพันธ์
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่
hhttp://attorney285.com/product.detail_599613_th_7064977 หลักกฎหมายปกครองและวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง วนิดา แสงสารพันธ์ผู้แต่ง : วนิดา แสงสารพันธ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : กรกฎาคม 2560
จำนวนหน้า: 199 หน้า
ขนาด : 14.5x21 ซม. A5
รูปแบบ : ปกอ่อน
ตำราเล่มนี้มุ่งจะนำเสรอเนื้อหาอันเป็นหลักพื้นฐานของกฎหมายปกครองและวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองของไทยในปัจจุบัน เพื่อเป็นการปูพื้นฐายเพื่อนำไปสู่การทำความเข้าใขกฎหมายปกครองอื่นที่มีคความยุ่งยากซับซ้อนและเกี่ยวข้องต่อไป
สารบาญ บทนำ บททั่วไป
1.หลักการพื้นฐานของกฎหมายมหาชน
1.1กฎหมายมหาชน: ความหมาย
1.2ประเภทของกฎหมายมหาชน
ส่วนที่ 1 : ภาคทั่วไป
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหายปกครอง
1.หลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย
1.1 แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย
1.2 สาระสำคัญของหลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย
(1) การแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยอย่างเด็ดขาด
(2) การแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยอย่างไม่เด็ดขาด
2.หลักนิติรัฐ
2.1 นิติรัฐ: ความหมาย
2.2สาระสำคัญของหลักนิติรัฐ
3.หลักความชอบด้วยกฎหมาย
3.1หลักความชอบด้วยกฎหมาย: ความหมาย
3.2สาระสำคัญของหลักความชอบด้วยกฎหมาย
(1) หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำขององค์กรนิติบัญญัติ
(2) หลักความชอบด้วยกฎหมายการกระของฝ่ายปกครอง
(3) หลักความชอบด้วยกฎหมายการกระของฝ่ายตุลาการ
4.หลักประโยชน์สาธารณะ
4.1หลักประโยชน์สาธารณะ: ความหมาย
4.2สาระสำคัญของหลักประโยชน์สาธารณะ
(1) การนดำเนินการเพื่อประโยชน์สาธารณะ
โดยการใช้อำนาจในลักษณะควบคุม
(2) การนดำเนินการเพื่อประโยชน์สาธารณะ
โดยการใช้อำนาจในลักษณะการให้บริการ
4.3 ผลทางกฎหมาย
(1) หลักความต่อเนื่องของบริการสาธารณะ
(2) หลักการเปลี่ยนแปลงบริการสาธารระให้มีความทันสมัย
(3) หลักความเสมอภาค
บทที่ 2 การกระทำทางปกครอง
1.ฝ่ายปกครอง
2.การใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง
2.1หลักทั่วไป
(1) การกระทำทางรัฐบาล
(2) การกระทำทางปกครอง
2.2ประเภทของการกระทำทางปกครอง
(1) นิติกรรมทางปกครอง
(2) ปฏิบัติการทางปกครอง
(3) สัญญาทางปกครอง
1.สัญญาทางปกครองตามบัญญัติของกฎหมาย
2.สัญญาทางปกครองโดยผลของคำวินิจฉัยของศาล
ส่านที่ 2 : วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง
บทที่ 3 กฎหมาย วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครองทั่วไป
1.ความเป็นมาและความสำคัญของกฎหมายวิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง
2.ขอบเขตการใช้บังคับวิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง
(1) สถานะความเป็น ''กฎหมายกลาง" ของกฎหมาย
(2) หน่วยงานที่ไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย
บทที่ 4 คำสั่งทางปกครอง
1. คำสั่งทางปกครอง: ความหมาย
2.ผู้มีอำนาจพิจารณาทำคำสั่งทางปกครอง
2.1หลักความเป็นกลางหรือหลักความไม่มีส่วนได้เสีย
(1) ความไม่เป็นกลางโดยสภาพภายนอก
(2) ความไม่เป็นกลางโดยเหตุอื่น
2.2ผลทางกฎหมาย
3.คู่กรณีในคำสั่งทางปกครอง
3.1คู่กรณี: ความหมาย
(1) ความสามารถของคู่กรณี
(2)"ตัวแทน" ของคู่กรณี
3.2 สิทธิของคู่กรณี
(1) สิทธิในการนำทนายหรือปรึกษาเข้ามาในการพิจารณาทางปกครอง
(2) สิทธิในการได้รับแจ้ง
(3) สิทธิที่ได้รับการพิจารณาอย่างเป็นธรรม
(4) สิทธิในการโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานและการตรวจสอบเอกสาร
(5) สิทธิในการได้รับการพิจารณาโดยเร็ว
4.การพิจารณาคำสั่งทางปกครอง
4.1แบบของคำสั่งทางปกครอง
(1) คำสั่งด้วยวาจา
(2) คำสั่งเป็นหนังสือ
(3) การสื่อความหมายในรูปแบบอื่น
4.2การกำหนดเงื่อนไขในคำสั่งทางปกครอง
(1) เงื่อนเวลาในคำสั่งทางปกครอง
(2) เงื่อนไขในคำสั่งทางปกครอง
(3) ข้อสงวนสิทธิในคำสั่งทางปกครอง
(4) ข้อเรียกร้องในคำสั่งทางปกครอง
(5) ข้อสงวนสิทธิในการจัดให้มีข้อเรียกร้องในคำสั่งทางปกครอง
4.3ระยะเวลาและอายุความในคำสั่งทางปกครอง
(1) การนับระยะเวลาเริ่มต้น
(2) การนับระยะเวลาสิ้นสุด
(3) การขยายระยะเวลา
5.ผลทางกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง
(1) การเกิดผลของคำสั่งทางปกครอง
1.การแจ้งด้วยวาจา
2.การแจ้งเป็นหนังสือ
3.การแจ้งโดยการส่งไปรษณีย์
4.การแจ้งโดยการปิดประกาศ
5.การแจ้งโดยวิธีอื่น
(2) การสิ้นผลของคำสั่งทางปกครอง
6.การบังคับการตามคำสั่งทางปกครอง
(1) คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงิน
(2) คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้กระทำการหรือละเว้นการกระทำการ
บทที่ 5 การควบคุมตรวจสอบความชอบด้ายกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง
1.หลักการควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
1.1อำนาจผูกพัน
1.2อำนาจดุจพินิจ
2.รูปแบบการควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง
2.1การควบคุมตรวจสอบแบบป้องกัน
(1) การควบคุมตรวจสอบแบบป้องกัน
(2) การควบคุมโดยการให้ประชาชนมีส่วนร่วม
(3) การควบคุมโดยการให้ประชาชนรับรู้และการเข้าถึงเอกสารราชการและการให้เหตุผลในคำสั่งทางปกครอง
2.2 การควบคุมตรวจสอบแบบแก้ไขผ่านปกครอง
(1) การควบคุมตรวจสอบภายในฝ่ายปกครอง
1.การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
1.1หลักพื้นฐานของทางปกครอง
1.2การยื่นอุทธรณ์
1.3การพิจารณาอุทธรณ์
1.4ผลของการพิจารณาอุทธรณ์
2.การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง
2.1 หลักพื้นฐานของการเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง
2.2 ระยะเวลาในการเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง
2.3 การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
1. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่ให้ประโยชน์
2. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและให้ประโยชน์
2.4 การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมาย
1. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายและไม่ใฆ้ประโยชน์
2. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายและให้ประโยชน์
3. การขอให้พิจารณาคดีใหม่
(2) การควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรภายนอกฝ่ายปกครอง
1. การควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรทางการเมือง
2. การควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
3. การควบคุมตรวจสองโดยองค์กรตุลาการ
ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่
"[url]http://attorney285.com/product_599613_th[/url]
*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** **** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย****
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่
https://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ ***
1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น)
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law อีเมล attorney285@gmail.com
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน)
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน)
LINE ID : @attorney285
Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)
บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด
ตั้งอยู่ที่
เลขที่ 15
ซ.รามคำแหง 24/3
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ
กรุงเทพฯ 10240
บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)