คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยมรดก เพรียบ หุตางกูร

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยมรดก เพรียบ หุตางกูร  (อ่าน 18 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
attorney285
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41755


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: มีนาคม 09, 2019, 09:07:31 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยมรดก เพรียบ หุตางกูร



ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_742818_th_4444128

คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยมรดก เพรียบ หุตางกูร
ผู้แต่ง : เพรียบ หุตางกูร
แก้ไขเพิ่มเติมโดย ศาสตราจารย์ไพโรจน์ กัมพูสิริ
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 15 : กรกฎาคม 2560
จำนวนหน้า: 344 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
รายละเอียดหนังสือ
 
คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยมรดก เพรียบ หุตางกูร
เมื่อมนุษย์ถึงแก่ความตาย ทรัพย์สินที่มีอยู่ขณะมีชีวิตจะต้องตกทอดสู่ลูกหลานหรือญาติพี่น้องของผู้ตาย หากผู้ตายได้ทำพินัยกรรมไว้ทรัพย์สินเหล่านั้นก็จะตกทอดสู่ทายาทที่ผู้ตายประสงค์จะมอบทรัพย์สินให้ ในทางกลับกันหากไม่มีพินัยกรรม ทรัพย์สินเหล่านั้นก็จะตกทอดสู่ทายาทที่กฎหมายกำหนด แต่หากผู้ตายไม่มีทายาท ทรัพย์สินเหล่านั้นก็จะตกเป็นของแผ่นดิน ทั้งนี้เพื่อให้ทรัพย์สินเหล่านั้นไม่หยุดนิ่งและหมุนเวียนเปลี่ยนมือไปในระบบเศรษฐกิจ การศึกษากฎหมายว่าด้วยมรดกจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจกระบวนการตกทอดของทรัพย์สินในกองมรดก อาทิ สิทธิและหน้าที่ของทายาทที่มีต่อกองมรดก ตลอดจนตัวอย่างและคำพิพากษาศาลฎีกาที่สำคัญและทันสมัย โดยหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย ๑๐ หัวข้อหลัก ได้แก่ มรดกกับการตกทอดแห่งมรดก ทายาทและความสามารถในการเป็นทายาท ทายาทโดยธรรม ผู้ได้ทรัพย์สินของผู้ตายโดยเหตุอื่นนอกจากการเป็นทายาท การเสียสิทธิในการรับมรดก พินัยกรรมและผู้รับพินัยกรรม การจัดการมรดก การรวบรวมจำหน่ายทรัพย์มรดกเป็นตัวเงินและการชำระหนี้กองมรดก การแบ่งมรดก และอายุความเกี่ยวกับมรดก
 
สารบัญ
 
บทที่ 1 มรดกกับการตกทอดแห่งมรดก
1. การตกทอดแห่งมรดก
2. มรดก
2.1 ความหมายของมรดก
2.2 สิทธิหน้าที่อันเป็นการเฉพาะตัว
2.3 ทรัพย์สินที่ได้มาเพราความตายหรือได้มาภายหลังตาย
บทที่ 2 ทายาทและความสามารถในการเป็นททายาท
1. ความหมายของทายาท
2. ประเภทของทายาท
3.ความสามารถในการเป็นทายาท
บทที่ 3 ทายาทโดยธรรม
1.ทายาทโดยธรรมประเภทญาติของเจ้าของมรดก
1.1 ทายาทโดยธรรมตามมาตรา 1629
1) ผู้สืบสันดาน
2) บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
3) บุตรบุญธรรม
4) บิดา มารดา
5) พี่และน้อง
6) ปู่ ย่า ตา ยาย
7) ลุง ป้า น้า อา
1.2 การรับมรดกแทนที่
1.3 การสืบมรดก
2.ทายาทโดยธรรมปนะเภทคู่สมรสของเจ้าของมรดก
3.สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทโดยธรรม
3.1 สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทประเภทญาติของเจ้ามรดก
(ก) สิทธและส่วนแบบในการรับมนดกแบบธรรมดา
(ข) สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทในการรับมรดกแทนที่ 
(ค) สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทในการสืบมรดก
3.2 สิทธิและส่วนแบ่งทายาทประเภทคู่สมรส
3.3 สิทะิของคู่สมรสในกรณีที่เป็นผู้รับประโยชน์ ตามสัญญาประกันชีวิต
3.4 สิทธิหน้าที่ของคู่สมรสที่เป็นคู่สัญญารับเงินรายปี
3.5 สิทธิของทายาทที่เป็นพระภิกษุ
บทที่ 4 ผู้ได้รับทรัพย์สินของผู้ตายโดยเหตุอื่่นนอกจากการเป็นทายาท
1. วัด (มรดกของพระภิกษุ)
2. แผ่นดิน (มรดกไม่มีผู้รับ)
บทที่ 5 การเสียสิทธิในการรับมรดก
1. การกำจัดมิให้รับมรดก
1.1 การถูกกำจัฐานยักย้ายหรือปิดบังมรดก
1) หลักทั่วไปในการกำจัดฐานยักย้ายหรือปิดบังมนดก
2) ผู้รับพินัยกรรมยักย้ายปิดบังมรดก
3) ผลของการถูกำจัดมิให้รับมรดกฐานยักย้ายหรือปิดบังมรดก
1.2 การกำจัดฐานเป็นผู้ไม่สมควรได้รับมรดก
1) ประเภทของบุคคลที่จะต้องถูกกำจัดฐานเป็นผู้ไม่ควรรับมรดก
2) ผลของการถูกำจัดเป็นผู้ไม่สมควรรับมรดก
3) การถอนการกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่ควรรับมรดก
2. การตัดมิให้รับมรดก
2.1 การตัดโดยชัดเจน
2.2 การตัดโดยปริยาย
2.3 ผลของการตัดมิให้รับมรดก
2.4 การถอนการตัดมิให้รับมรดก
3. การสละมรดก
3.1 หลักเกณฑ์ทั่วไปของการสละมรดก
3.2 แบบและความสามารถในการสละมรดก
3.3 ผลของการสละมรดก
3.4 การเพิกถอนการสละมรดก
บทที่ 6 พินัยกรรมและผู้รับพินัยกรรม
1. ลักษณะของพินัยกรรม
2. ความสามารถในการทำพินัยกรรม และความสามารถของผู้รับพินัยกรรม 
2.1 ความสามารถในการทำพินัยกรรม
ก. ความสามารถเกี่ยวกับผู้ทำพินัยกรรม
ข. ความสามารถในการทำพินัยกรรมที่เกี่ยวกับฐานะของผู้รับพินัยกรรม
2.2 ความสามรถของผู้รับพินัยกรรม
3. ประเภทของผู้รับพินัยกรรม
3.1 ผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
3.2 ผุ้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
4. สิทธิและความรับผิดชอบของผู้รับพินัยกรรม
5. แบบของพินัยกรรม
5.1 พินัยกรรมแบบได้ได้เขียนเอง (แบบธรรมดา) การแก้ไขเปลี่ยนแปลงในพินัยกรรมแบบธรรมดา
5.2 พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับสั่งซื้อได้ที่attorney285.co.th
5.3 พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
5.4 พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
5.5 พินัยกรรมแบบเอกสารลับสำหลับบุคคลบางประเภท
5.6 พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา
5.7 พินัยกรรมสำหรับบุคคลบางประเภท
1) พินัยกรรมสำหรับบุคคลบังคับไทยในต่างประเทศ
2) พินัยกรรมทำในระหว่างประเทศ อยู่ภาวะการรบหรือสงคราม
3) พินัยกรรมซึ่งผู้ทำเป็นบุคคลที่ปฏิบัติการเพื่อประเทศในภาวะการรบหรือสงครามในต่างประเทศ
4) พินัยกรรมทำในโรงพยาบาลในระหว่างประเทศอยู่ในภาวะกรรบหรือสงคราม
6. ผู้เขียนแลพยานในพินัยกรรม
6.1 การลงชื่อผู้เขียนและพยานในพินัยกรรม
6.2 พยานต้องทราบข้อความในพินัยกรรมหรือไม่
6.3 บุคคลมราต้องห้ามมิให้เป็นพยานในการทำพินัยกรรม
6.4 สิทธิของผู้เขียนและพยานในการับทรัพย์ตามพินัยกรรม
6.5 พยานใยพินัยกรรมกับพยานในการทำพินัยกรรม
7ผลของพินัยกรรมและผลบังคับของพินัยกรรม
7.1 ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับก่อน
7.2 การตั้งผู้จัดการทรัพย์สิน
7.3 ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับหลัง
7.4 ผลแแห่งพินัยกรรมมีเงื่อนเวลา
7.5 ผลแห่งพินัยกรรมตั้งมูลนิธิ
7.6 ผลแห่งพินัยกรรมเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินอันเป็นวัตถุแห่งข้อกำหนดพินัยกรรม
7.7 ผลของพินัยกรรมเกี่ยวกับหนี้สิน
7.8 ผลของพอนัยกรรมเกี่ยวกับการก่อตั้งทรัสต์
7.9 ผลของพินัยกรรมเกี่ยวกับการตั้งผู้ปกครองทรัพย์
8. การตีความพินัยกรรม
9. พินัยกรรมกำหนดผู้รับพินัยกรรมโดยคุณสมบัติ
10. ความไม่เป็นผลของพินัยกรรม หรือข้อกำหนอพินัยกรรม
10.1 การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
1) เพิกถอนโดยพินัยกรรม
2) เพิกถอนโดยขีดฆ่าหรือทำลายพินัยกรรม
3) เพิกถอนโอดยการโอนหรืทำรายทรัพย์สินอันเป็นวัตถุแห่งข้อกำหนดพินัยกรรม
10.2 การตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนอแ่งพินัยกรรม
10.3 ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
1) พินัยกรรมมีข้อกำหนดห้ามโอน
2) พินัยกรรมมีเงื่อนไขให้จำหน่ายทรัพย์สินที่ยกให้
3) พินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรมเป็นโมฆะ
1.เพราะผู้ทำพินัยกรรมมีอายุไม่ครบ
2. เพราะผู้ทำพินัยกรรมเป็นไร้ความสาารถหรือวิกลจริต
3. เพราะพินัยกรรมขัดต่อกฎหมาย
4. เพราะพิินัยกรรมมีเงื่อนไขไม่ชอบ
5. เพราะพินัยกรรมไม่ชัดเจน
10.4 การขอให้ศาลสั่งเพิกถอนพินัยกรรม
1) พินัยกรรมทำขึ้นเพราะเหตุข่มขู่
2) พินัยกรรมทำขึ้นเพราะสำคัญผิดหรือกลฉ้อฉล
บทที่ 7 การจัดการมรดก
1.ผู้จัดการมรดก
1.1 การตั้งผู้จัดกานมรดก
1) ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม
2) ผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาล แนวปฏิบัติของศาลในการตั้งผู้จัดการมรดก
1.2 บุคคลที่ต้องห้ามไม่ให้เป็นผู้จัดการมรดก
1.3 อำนาจและหน้าที่ของผู้จจัดการมรดก
1) หลักทั่วไปฝในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
1.ต้ิงปฏิบัติหน้าที่ด้วยตนเอง
2. ห้ามผู้จัดการมรดกทำพินัยกรรมที่ตัวมีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์กับกองมรดก
3. การจัดการมรดกที่มีผู้จัดการหลายคน
2)อำนาจหน้าที่เฉพาะอย่างที่กฎหมายบังคับให้ปฏิบัตินอกเหนือจากการชำระหนี้และการแบ่งปันมรดก
1. การทำบัญชีทรัพย์มรดก
2.การจัการศพของเจ้ามรดก 
3. การสืบหาตัวผู้มีส่วนได้เสีย
4. การเรียกเก็บหนี้สิน
5. การส่งเงินและทรัพย์สินเข้ากองมรดก
6. การแถลงความเป็นไปในการจัดกองมรดก
7. การปฏิบัติตามที่ศาลหรืทายาทสั่ง
8. การแจ้งหนิ้ระหว่างผู้จักการมรดกกับกองมรดก
9. การทำรายงานแสดงบัญชีการจัดการมรดก
1.4 ความรับผิดชอบของผู้จัดการมรดก
1) ความรับผิดต่อทายาท
1. ความรับผิดเพราะประเมินเลินเล่อหรือไม่ทำหน้าที่ หรือทำนอกเหนืออำนาจ
2. รับผิดในการเอาเงินไปใช้
2) ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก
1. รับผิดในนิติกรรมที่ทำขึ้นเพราะเห็นแก่ประโยชน์ที่ได้เป็นลาภส่วนตัว
2. รับผิดในกิจการที่ทำไปโดยปราศจากอำนาจ
3. รับผิดในการกระทำภายหลังจากอำนาจหน้าที่
1.5 สิทธิของผู้จัดการมรดก 
1.6 ความสิ้นสุดแห่งการจัดการมรดกและความสิ้นสุดแห่งการเป็นผุ้จัดการมรดก
1) ผู้จัดการมรดกพ้นหน้าที่เมื่อจัดการมรดกเสร็จ
2) ผู้จัดการมรดกตาย
3) ผู้จัดการมรดกลาออก
4) ผู้จัดการมรดกถูกศาลสั่งถอน
บทที่ 8 การรวบรวมจำหน่ายทรัพย์มรดกเป็นตัวเงินและการชำระหนี้ของกองมรดก
1. สิทธิของเจ้าหนี้ในการฟ้องบังคับเอาชำระหนี้
2. ลำดับของหนี้ที่จะได้รับการชำระ
3. ลำดับขงทรัพย์มรดกที่จะนำออกชำระหนี้
4. วิธีชำระหนี้ของกองมรดก
4.1 ชำระโดยการขายทอดตลาดหรือตีราคาทรัพย์
4.2 ชำระโดยให้เจ้าหนี้เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญษประกันชีวิต
4.3 ชำระโดยลูกหนี้ทำพินัยกรรมยกทรพย์สินให้
บทที่ 9 การแบ่งมรดก
1. สิทธในการแบ่งมรดก
1.1 สิทธในการขอแบ่งมรดกของทายาทที่ได้รับครอบครองทรัพย์มรดก
1) ความหมายของการครอบครองทรัพย์มรดก
2) ระยะเวลาในการครอบครอง
3) การครอบครองมีผลเฉพาะแต่ในทรัพย์สินที่ครอบครอง
1.2 สิทธิขอแบ่งมรดกที่ไม่มีทายาทครอบครอง
1.3 ข้อตกลงมิให้แบ่งมรดก
1.4 สิทธิร้องสอดเข้ารับมรดก
1.5 การเรียกทายาทให้มารับส่วนแบ่งและการกันส่วนไว้ให้ทายาทอื่น
2.วิธีแบ่งมรดก
2.1 แบ่งโดยการเข้าครอบครองมรดกเป็ส่วนสัด
2.2 แบ่งโดยการขายทรัพย์มรดก
2.3 แบ่งโดยดารทำเป็นสัญญา
2.4 ทายาทผู้ไดรับแบ่งถูกถูกตัดรอนสิทธิ
บทที่ 10 อายุความเกี่ยวกับมรดก
1. อายุความฟ้องคดีมรดก
2. อายุความสิทธิเรียกร้องตามข้อกำหนดพินัยกรรม
3. อายุความสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้กองมรดก
4. อายุความสิบปีในวรรคท้ายของมาตรา 1754
5. สิทธิยกอายุความขึ้นต่อสู้

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "[url]http://www.attorney285.com/product_742818_th[/url]​

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

 



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ