กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน อ.จรัญ ภักดีธนากุล

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน อ.จรัญ ภักดีธนากุล  (อ่าน 55 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
attorney285
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41755


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: สิงหาคม 27, 2019, 10:32:44 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน อ.จรัญ ภักดีธนากุล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_585929_th_6557943 

กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน อ.จรัญ ภักดีธนากุล
ผู้แต่ง : จรัญ ภักดีธนากุล
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 11 / กันยายน 2559
จำนวนหน้า : 613 หน้า
ขนาด : มาตราฐาน
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
ปรับปรุงเนื้อหาให้รับกับการแก้ไข ป.วิ.แพ่ง ในปี พ.ศ.2558 ฉบับที่ 26 การดำเนินคดีแบบกลุ่ม และฉบับที่ 27 การอุทธรณ์ฎีกาและเพิ่มเติมคำพิพากษาฎีกาถึงปี พ.ศ.2559
 
สารบัญ
บทที่  1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
1. หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงในทางอรรถคดี
1.1 ข้อเท็จจริงที่ได้จากคำรับ (Admission)  ของคู่ความในศาล
1.2 ข้อเท็จจริงที่วินิจฉัยได้โดยอาศัยบทกฎหมายที่วางบทสันนิษฐาน
เด็ดขาดเอาไว้  หรือหลักกฎหมายปิดปากไม่ให้คู่กรณีเถียง
ข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่น (Absolute or lrrebuttable Presumption)
1.3 ข้อเท็จจริงที่สามรถวินิจฉัยได้โดยอาศัยความรู้ทั่วไปของศาลเอง
(Judicial  Notice)
1.4 ข้อเท็จจริงที่ได้โดยพยานหลักฐาน (Evidence)
2. กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานของไทย
3. บทกฎหมายไทยที่เกี่ยวกับพยานหลักฐานในคดีแพ่งและคดีอาญาสามัญ
4. ขั้นตอนในการใช้กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
บทที่  2 กรณีใดต้องใช้พยานหลักฐาน
1. ปัญหาข้อกฎหมายและปัญหาข้อเท็จจริง
1.1 ปัญหาข้อกฎหมาย
(1) ข้อพิพาทที่โต้แย้งกันว่ามีกฎหมายบทใดบทหนึ่งใช้บังคับอยู่
ในขณะเกิดเหตุคดีนั้นหรือไม่
(2) ข้อพิพาทที่โต้แย้งกันว่าความหมายของบทกฎหมายบทนั้นมีอย่างไร
(3) ปัญหาเกี่ยวกับผลของการนำบทกฎหมายไปปรับใช้กับข้อเท็จจริงในคดี
1.2 ปัญหาข้อเท็จจริง
(1) ปัญหาข้อพิพาทที่โต้แย้งกันเกี่ยวกับการกระทำของบุคคล
ว่าบุคคลใดกระทำการใดหรือไม่  อย่างไร
(2) ปัญหาพิพาทกันเกี่ยวกับสภาพจิตใจของบุคคล
(3) ข้อพิพาทที่โต้แย้งกันเกี่ยวกับเหตุการณ์ว่ามีการเกิดขึ้นหรือการมีอยู่
หรือการสิ้นสุดไปของเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือไม่  อย่างไร
และข้อพิพาทที่โต้แย้งกันเกี่ยวกับความมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของวัตถุ
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือสภาวการณ์ที่เป็นนามธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
2. ปัญหาข้อกฎหมายต้องไม่ใช้พยานหลักฐาน
2.1 ปัญหากฎหมายต่างประเทศ
2.2 กฎหมายระหว่างประเทศ
2.3 กฎหมายลำดับรองที่มีฐานะต่ำกว่ากฎกระทรวง
2.4 ปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายท้องถิ่น
2.5 กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก
2.6 ปัญหาการอุดช่องว่างของกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา  4  วรรคสอง
2.7 ปัญหากรณีมติคณะรัฐมนตรี
3. ปัญหาข้อเท็จจริงต้องใช้พยานหลักฐาน
3.1 ความหมายของพยานหลักฐาน
3.2 พยานหลักฐานในสำนวนของศาล
4. ข้อยกเว้นหลักที่ว่าถ้าเป็นปัญหาข้อเท็จจริงจะต้องใช้พยานหลักฐาน
4.1 ข้อเท็จจริงซึ่งเป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไป  (Judicial  Notice)
4.2 ข้อเท็จจริงซึ่งไม่อาจโต้แย้งได้
(Undisputable  Fact  as a result of absolute presumption or estoppel)
4.2.1 ตาม  พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่  5)  พ.ศ. 2545  มาตรา  8
4.2.2 ตาม ป.วิ.อ.  มาตรา  46
4.2.3 ตาม ป.วิ.พ.  มาตรา  145
  4.3 ข้อเท็จจริงซึ่งคู่ความรับกันแล้วหรือถือว่ารับกันแล้วในศาล
   (Facts  Admitted  in  Court)
   4.3.1 คำรับของคู่ความกับคำรับของคนที่ไม่ใช่คู่ความ
   4.3.2 คำรับที่กระทำในศาลกับคำรับที่กระทำนอกศาล
   4.3.3 คำรับที่เป็นผลร้ายต่อรูปคดีของผู้ทำคำรับเอง
    (unfavourable  admission)  กับคำรับที่เป็นคุณต่อผู้ทำคำรับ
    (favourable  admission)
   4.3.4 คำรับโดยปริยาย (implied admission)
   4.3.5 กฎหมายถือว่ารับ
    (1) ป.วิ.พ. มาตรา  100  วรรคสอง
    (2) ป.วิ.พ. มาตรา  183  วรรคสอง
    (3) ป.วิ.พ. มาตรา  123  วรรคหนึ่ง
    (4) ป.วิ.พ. มาตรา  124
    (5) ป.วิ.พ. มาตรา  177  วรรคสอง
   4.3.6 คำท้าหรือคำรับที่มีเงื่อนไขบังคับก่อน (conditional admission)
    (1) ความหมายของคำท้า
    (2) เงื่อนไขของคำท้าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
    (3) ผลของคำท้าที่สมบูรณ์ผูกพันผู้ใด
    (4) การตีความคำท้า
    (5) การดำเนินคดีในกรณีที่คำท้าไม่สามรถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
   4.3.7 คำรับในคดีอาญา
บทที่  3 หน้าที่นำสืบ  (Burden of Proof)
 โครงสร้างของกฎเกณฑ์ในเรื่องหน้าที่นำสืบ
1. ประเด็นข้อพิพาท  (Disputed  Issues)
1.1 ความสำคัญของประเด็นข้อพิพาท 
1.2 ความหมายและหลักเกณฑ์ในการกำหนดประเด็นข้อพิพาท 
1.3 ทางแก้ในกรณีที่ศาลกำหนดประเด็นข้อพิพาทผิด 
1.4 ประเด็นข้อพิพาทในคดีอาญา
2. ภาระการพิสูจน์หรือหน้าที่นำสืบ (Legal Burden of Proof)
ในแต่ละประเด็นข้อพิพาท
2.1 ความสำคัญของภาระการพิสูจน์
2.2 หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดภาระการพิสูจน์
2.3 ทางแก้ในกรณีที่ศาลชั้นต้นกำหนดหน้าที่นำสืบหรือภาระการพิสูจน์ผิด
2.4 ภาระการพิสูจน์ในคดีอาญา
3. การจัดลำดับก่อนหลังในการนำพยานหลักฐานเข้าสืบ (Order of Proof)
3.1 หลักเกณฑ์ในการกำหนดให้คู่ความฝ่ายใดนำสืบก่อนหลัง
3.2 ทางแก้ในกรณีที่ศาลจัดลำดับการสืบก่อนหลังผิด
4. มาตรฐานการพิสูจน์ (Standard of Proof)
4.1 มาตรฐานการพิสูจน์ในคดีอาญา : 
proof  beyond  reasonable  doubt
4.2 มาตรฐานการพิสูจน์ในคดีแพ่ง :
proof  on the balance of  probability
4.3 มาตรฐานการพิสูจน์ชนิดที่สาม :
proof  by  clear  and  convincing  evidence
4.4 มาตรฐานการพิสูจน์ให้เห็นมูลความแห่งคดี
proof  of  prima  facie  case  or probable  cause
บทที่  4 หลักกฎหมายว่าด้วยการรับฟังพยานหลักฐาน  (Admissibility of  Evidence)
1. บทตัดพยานหลักฐานที่เป็นเท็จหรือปลอม
2. บทตัดพยานหลักฐานที่ฟุ่มเฟือย (superfluous)  ประวิงให้ชักช้า
(undue  delaying)  หรือไม่เกี่ยวแก่ประเด็น  (irrelevant)
3. บทตัดพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นหรือได้มาโดยมิชอบ
(Rule against  illegally obtained evidence)
3.1 แนวคิด
3.2 บทกฎหมายของไทย
3.3 ข้อจำกัด
3.4 กรณีศึกษา
3.5 ปัญหา
4. บทตัดพยานบอกเล่า  (Rule against  Hearsay)
4.1 ความหมายของพยานบอกเล่า 
4.2 บทตัดพยานบอกเล่าในกฎหมายไทย
4.3 กรณียกเว้นให้รับฟังพยานบอกเล่าได้
4.4 น้ำหนักของพยานบอกเล่า
5. พยานหลักฐานที่เกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมหรือความประพฤติ
ในทางชั่วร้ายของจำเลยในคดีอาญา  ต้องห้ามไม่ให้รับฟัง
มาใช้ในการพิสูจน์ความผิดในคดีปัจจุบันของจำเลย
6. บทตัดพยานหลักฐานที่แสดงถึงพฤติกรรมทางเพศของผู้เสียหาย
ในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ
7. บทตัดพยานบุคคล
7.1 บทตัดพยานบุคคลในคดีอาญา
7.2 บทตัดพยานบุคคลที่ใช้ทั้งในคดีแพ่งและคดีอาญา
7.3 บทตัดพยานบุคคลที่ใช้เฉพาะในคดีแพ่ง
8. บทตัดพยานเอกสารในคดีแพ่ง
บทที่  5 การยื่นพยานหลักฐาน (Adduction of Evidence)
 หมวดที่  1  :  หลักทั่วไปของการยื่นพยานหลักฐาน
1. การสืบพยานหลักฐานเป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาคดี
จึงต้องกระทำในหลักเกณฑ์เดียวกันกับการพิจารณาคดี
1.1 ต้องกระทำในศาล
1.2 ต้องกระทำโดยเปิดเผย
1.3 ต้องกระทำต่อหน้าคู่ความ
1.4 ต้องใช้ภาษาไทย
1.5 ต้องทำตามขั้นตอนและกรอบเวลาที่กฎหมายและศาลกำหนด
1.5.1 ในคดีแพ่ง
   1.5.2 ในคดีอาญา
2. การยื่นบัญชีระบุพยาน (List of  Evidence)
2.1 วัตถุประสงค์และโครงสร้างของกฎ
2.1.1 กฎเกณฑ์ในเรื่องบัญชีระบุพยาน
   2.1.2 โครงสร้างของกฎ
2.2 ตัวกฎและสภาพบังคับ
2.2.1 หลักปฏิบัติตามกฎ  14  ประการ
   2.2.2 สภาพบังคับของกฎหรือบท  sanction  ของกฎเกณฑ์
    ในการยื่นบัญชีระบุพยาน
2.3 ข้อยกเว้นของกฎ
2.3.1 มาตรา  88  วรรคสาม
2.3.2 มาตรา  87 (2)  ตอนท้าย
2.4 กรณีที่ไม่อยู่ในขอบเขตบังคับตามมาตรา  88
2.5 หลักในเรื่องบัญชีระบุพยานหลักฐานในคดีอาญา
3. เงื่อนไขและวิธีการในการนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ต่อ
       (impeach or discredit )  พยานบุคคล (ป.วิ.พ. มาตรา  89)
3.1 วัตถุประสงค์ของกฎ
3.2 ขอบเขตของกฎ
3.3 สภาพบังคับของกฎ
3.4 ข้อยกเว้นของกฎ
3.5 การอนุโลมเอามาตรา  89  ไปใช้ในคดีอาญา
 หมวดที่  2  :  หลักเกณฑ์ว่าด้วยวิธีการนำสืบพยานหลักฐานเฉพาะแต่ละประเภท
1. วิธีการนำสืบพยานเอกสาร  (Documentary   Evidence)
2. หลักเกณฑ์ว่าด้วยวิธีการนำสืบพยานบุคคล
2.1 การนำพยานบุคคลมาสู่ศาล
2.2 การสาบานหรือปฏิญาณตน
2.3 การเบิกความด้วยวาจา
2.4 การสืบพยานคู่
2.5 พยานปรปักษ์
2.6 การสืบพยานเด็กและพยานที่หวาดกลัวจำเลยในคดีอาญา
2.7 การบันทึกคำเบิกความในสื่อภาพและเสียง
3. วิธีการนำสืบพยานวัตถุ  (Real Evidence)
3.1 ความหมาย
3.2 วิธีการนำสืบ
4. วิธีการนำสืบพยานผู้เชี่ยวชาญ (Expert Witness)
4.1 ความหมาย
4.2 วิธีการนำสืบ
4.3 การบังคับตรวจพิสูจน์โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
บทที่  6 การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน (Weight and Cogency of Evidence)
1. หลักกฎหมาย
1.1 ป.วิ.พ. มาตรา  104
1.2 ป.วิ.พ. มาตรา  140  วรรคหนึ่ง (2)
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม  มาตรา  31 (3) และมาตรา  29 
ป.วิ.อ. มาตรา  184
2. หลักปฏิบัติ  (rule of practice)
2.1 หลักการใช้กฎหมายในเรื่องหน้าที่นำสืบ (Legal Burden of Proof)
2.2 หลักการใช้กฎหมายในเรื่องมาตรฐานการพิสูจน์ (Standard of Proof)
2.3 พยานหลักฐานที่มีน้ำหนักไม่มั่นคง
2.4 การอนุมานข้อเท็จจริงให้เป็นผลร้าย  (adverse inference)
ต่อคู่ความที่มีพฤติการณ์ส่อพิรุธ
ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "[url]http://www.attorney285.com/product_585929_th"[/url]​

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 
**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

 



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ