รู้จักหมอสอิ้ม กัวซา

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: รู้จักหมอสอิ้ม กัวซา  (อ่าน 7 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Saichonka
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 21399


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: กันยายน 13, 2019, 10:33:16 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

      • ความเครียด ไม่ว่าจะจากการทำงาน หรือเรื่องต่างๆในชีวิตประจำวัน ความวิตกกังวล ซึมเศร้า คิดมา
      • แสงจ้า เสียงดัง กลิ่นที่ไม่พึงประสงค์เช่น กลิ่นฉุนเกินไปของน้ำหอม ควันบุหรี่ ควันรถยนต
      • สภาพอากาศที่ร้อนจัด หรือเย็นจนเกินไป ก็เป็นสาเหตุของการปวดไมเกรนด้ว
      การรักษาและการป้องกัน โดยมากจะต้องรับประทานยาแก้ปวด แล้วพักจนกว่าอาการจะดีขึ้น การทำสมาธิ การฝังเข็ม และแพทย์ทางเลือกอื่นๆก็เป็นตัวเลือกที่ผู้ที่มีอาการไมเกรนตัดสินใจรักษาร่วมด้วย
      การหลีกเลี่ยงจากปัจจัยที่ทำให้อาการปวดไมเกรนกำเริบ ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่คนปวดไมเกรนต้องหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้อาการกำเริบอีกด้วย
      การรักษาอาการไมเกรนด้วยวิธ
      • ทางตา : แสงแดด แสงจ้า แสงระยิบระยับ การใช้สายตาเคร่งเครียดหรือลายตา (เช่น จ้องจอ คอมพิวเตอร์ หรืออ่านหนังสือนาน ๆ)[/*]
      • ทางหู : เสียงดัง เสียงจอแ
      • ทางจมูก : กลิ่นต่าง ๆ รวมทั้งกลิ่นน้ำหอม ควันบุหรี
      • ทางลิ้น : อาหาร (เช่น เครื่องในสัตว์ อาหารทะเล หมูแฮม ไส้กรอก ถั่ว กล้วยหอม ช็อกโกแลต ผงชูรส น้ำตาลเทียม-แอสพาร์เทม (aspartame) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มกาแฟมาก เป็นต้น) ยาเม็ดคุมกำเนิด ยานอนหลั
      • ทางกาย (กายภาพ) : อากาศร้อนจัด เย็นจัด อบอ้าว หิวจัด อิ่มจัด อดนอน นอนมาก (ตื่นสาย) ร่างกายเหนื่อยล้า ประจำเดือนมา มีไข้สูง มีอาการเจ็บปวดที่ต่าง ๆ (เช่น ปวดประจำเดือน ปวดฟัน)[/*]
      • ทางใจ : เครียด กังวล คิดมาก ซึมเศร้
      3. อาการที่โดดเด่นคือ มีอาการปวดตุบ ๆ (ตามจังหวะชีพจร) ที่ขมับข้างเดียว (พบได้ร้อยละ 70-80) หรือ 2 ข้าง (พบได้ร้อยละ 20-30) แต่ละครั้งจะปวดติดต่อกันนาน 4-72 ชั่วโมง (ในกรณีที่ปวดข้ามคืน ช่วงนอนหลับจะทุเลาชั่วคราว พอตื่นนอนก็จะปวดต่อ) แม้ไม่ได้กินยา เมื่อปวดถึงจังหวะหนึ่งก็จะค่อย ๆ ทุเลาไปได้เอง แต่ถ้ารีบกินยาแก้ปวดเมื่อเริ่มมีอาการกำเริบ ก็จะช่วยให้ทุเลาได้เร็ว
      ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมีอาการคลื่นไส้ร่วมกับปวดศีรษะ และมักจะปวดแรงขึ้นเมื่อสัมผัสสิ่งกระตุ้น เช่น ได้ยินเสียงดัง เห็นแสงจ้า ฝืนทำงาน เคลื่อนไหวร่างกาย หรือขึ้นลงบันได ผู้ป่วยมักจะหยุดพักและหลบเลี่ยงสิ่งกระตุ้นดังกล่าว เช่น นั่งหรือนอนพักในห้องที่อากาศสบาย ๆ สลัว ๆ เงียบ ๆ ถ้าได้หลับสักตื่นอาการปวดมักจะทุเลา
      ขณะปวดเต็มที่ มักคลำได้หลอดเลือดที่ขมับข้างที่ปวดพองตัว บางครั้งหลังปวดเต็มที่แล้ว อาจมีอาการอาเจียน แล้วการปวดก็จะค่อยทุเลาไป
      บางราย ก่อนปวดอาจมีอาการเตือนก่อนปวด คือ มีอาการทางสายตา (aura) เช่น ตาพร่า ตาลาย เห็นแสงสีรุ้ง เห็นดวงขาว ๆ หรือมองเห็นภาพที่ผิดเพี้ยนไปจากปกติประมาณ 15-30 นาที นำร่องมาก่อน และจะหายไปเมื่อเริ่มเกิดอาการปวดศีรษะ
      4. การดำเนินของโรคมักมีอาการครั้งแรกตอนวัยรุ่นหรือวัยหนุ่มสาว (ในวัยเด็กเล็ก อาจมีอาการเมารถ เมาเรือง่าย มาก่อน) อาการปวดมักกำเริบเป็นครั้งคราวเมื่อถูกเหตุกำเริบหรือสิ่งกระตุ้น อาจเดือนละครั้งหรือหลายครั้ง หรือนาน ๆ ที ส่วนใหญ่มักมีโอกาสกำเริบไปตลอดชีวิต บางรายอาจหายขาด เมื่อพ้นวัย 55 ปีไปแล้ว ผู้ที่มีอาการกำเริบบ่อยมาก (เช่น ปวดแทบทุกวัน) อาจมีโรคซึมเศร้า หรือโรควิตกกังวลร่วมด้วย
      5. อันตรายของโรคโดยทั่วไป ไม่มีภาวะแทรกซ้อนหรืออันตรายใด ๆ ยกเว้น หญิงที่เป็นไมเกรนแบบมีอาการเตือน คือ มีอาการสายตา (aura) นำร่องก่อนปวด หากสูบบุหรี่ หรือกินยาเม็ดคุมกำเนิด ก็อาจเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบตัน (อัมพาตครึ่งซีก) ได้มากกว่าคนทั่วไป
      6. การรักษ
      • รีบกินยาบรรเทาปวด (เช่น พาราเซตามอล ครั้งละ 1-2 เม็ด) ทันทีที่เริ่มมีอาการ อย่ารอให้ปวดนานเกิน 30 นาที จะได้ผลน้อย ผู้ป่วยจำเป็นต้องพกยาแก้ปวดติดตัว จะได้กินทันทีที่เริ่มมีอากา
      • หาทางนอนพัก หรือนั่งพั
      • หลีกเลี่ยงที่ที่อบอ้าว มีแสงจ้าหรือเสียงดัง หยุดการเคลื่อนไหวร่างกาย และการเดินขึ้นลงบันไ
      ถ้าคลื่นไส้มาก ให้กินยาแก้คลื่นไส้อาเจียน (ตามคำแนะนำของหมอ) ควบไปด้วย ในกรณีที่ใช้พาราเซตามอลไม่ได้ผล (พบได้ประมาณร้อยละ 20-30) แพทย์อาจให้ยาบรรเทาชนิดอื่น เช่น ไอบูโพรเฟน (ibuprofen) ทามาดอล (tamadol) เออร์โกทามีน (ergotamine) ชูมาทริปแทน (sumatriptan) เป็นต้น ซึ่งควรกินเป็นครั้งคราวเฉพาะเวลาปวดหัวไมเกรน
      7. การป้องกันควรสังเกตว่ามีอะไรเป็นเหตุกำเริบหรือสิ่งกระตุ้น (มักมีมากกว่า 1 อย่าง) แล้วหาทางหลีกเลี่ยงเสีย
      ถ้าเป็นบ่อยหรือรุนแรงจนเสียงาน แพทย์จะให้ยากินป้องกันนาน ครั้งละ 3-6 เดือน ยาป้องกัน เช่น อะมิทริปไทลีน (amitriptyline) นอร์ทริปไทลีน (nortriptyline) โพรพราโนลอล (propranolol) อะทิโนลอล (atenolol) โทพิราเมต (topiramate) ยาเหล่านี้อาจมีข้อระวังในการใช้ จึงต้องให้แพทย์เป็นผู้พิจารณาสั่งใช้ให้เหมาะกับผู้ป่วย แต่ละรายที่อาจมีภาวะสุขภาพหรือมีการใช้ยาอื่น ๆ อยู่ก่อน ซึ่งอาจเกิดผลข้างเคียงที่ร้ายแรงได้
      ตัวอย่างโรคที่มีอาการปวดศีรษะเรื้อรัง หรือปวดมากคล้ายไมเกร
      • ปวดศีรษะจากความเครียด (tension headache) 
        เกิดจากมีจิตใจเครียด วิตกกังวล หรือนอนไม่หลับ กล้ามเนื้อ รอบศีรษะ หรือบริเวณท้ายทอยตึงตัว (เกร็งแข็ง) ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหนัก ๆ มึน ๆ บริเวณรอบศีรษะหรือท้ายทอยติดต่อกันนานเป็นชั่วโมง ๆ เป็นวัน ๆ หรือเป็นสัปดาห์ โดยปวดพอทนอย่างคงที่ต่อเนื่อง และยังทำกิจวัตรประจำวันได้ จะทุเลาเมื่อหายเครียดหรือได้ยาบรรเทา (ไม่ปวดแรงขึ้น ๆ จนต้องหยุดงานไม่ปวดตุบ หรือปวดขมับข้างเดียว หรือคลื่นไส้แบบที่พบในไมเกรน)[/*]
      • เนื้องอกสมอง (brain tumor) 
        พบได้ในคนทุกวัย ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหน่วง ๆ ตึง ๆ ทั่วศีรษะตอนเช้ามืด (ขณะกำลังตื่นนอน) พอตกสาย ไปทำงานหรือเรียนหนังสือก็หายไปเอง เป็นแบบนี้อยู่ทุกเช้า นานเป็นสัปดาห์ ๆ ซึ่งจะปวดนานและแรงขึ้นไปเรื่อย ๆ ต่อมาอาจกลายเป็นปวดแทบทั้งวัน หรือปวดรุนแรง มีอาการอาเจียนบ่อย อาจมีอาการเดินเซ แขนขากระตุกหรืออ่อนแรงตามมาในที่สุด (ไม่มีอาการปวดตุบ ๆ หรือปวดขมับข้างเดียวเป็นครั้งคราวแบบไมเกรน)[/*]
      • หลอดเลือดสมองแตก (cerebral hemorrhage) 
        บางคนอาจมีหลอดเลือดที่ผิดปกติมาแต่กำเนิด ซึ่งมีลักษณะเปราะบางแตกง่ายกว่าปกติ เมื่อโตขึ้นย่างเข้าวัยรุ่น วัยหนุ่มสาว หรือวัยกลางคนก็ถึงจังหวะแตก เริ่มแรกผังหลอดเลือดปริ มีเลือดซึมออกเล็กน้อย ผู้ป่วยจะมีอาการปวดทั่วศีรษะฉับพลันและรุนแรงต่อเนื่องเป็นชั่วโมง ๆ หรือเป็นวัน ๆ กินยาแก้ปวดไม่ทุเลา แต่ยังรู้สึกตัวดี ต่อมาก็จะแตก มีเลือดออกมาก ผู้ป่วยจะปวดรุนแรงมาก อาเจียน และหมดสติ หากเป็นตรงส่วนสำคัญ ก็จะเสียชีวิต แต่ถ้าเป็นตรงส่วนไม่สำคัญ แพทย์สามารถช่วยเยียวยาหรือผ่าตัดให้หายหรือรอดชีวิตได้ (ไม่มีอาการปวดตุบ ๆ หรือปวดขมับข้างเดียวเป็นครั้งคราวแบบไมเกรน)[/*]
      • ต้อหินเฉียบพลัน (acute glaucoma) 
        มักพบในวัยกลางคนขึ้นไปที่มีโครงสร้างของลูกตาผิดปกติซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรม ช่วงที่มีอาการกำเริบเนื่องเพราะน้ำเลี้ยงภายในลูกตาเกิดการอุดกั้น ทำให้ความดันภายในลูกตาเพิ่มขึ้นฉับพลั
      ผู้ป่วยจะมีอาการปวดตาและศีรษะข้างเดียวอย่างรุนแรงและต่อเนื่องเป็นชั่วโมง ๆ หรือเป็นวัน ๆ กินยาแก้ปวดไม่บรรเทา ตาข้างที่ปวดมีอาการตาพร่ามัว ตาแดง (มีอาการปวดศีรษะข้างเดียวคล้ายไมเกรน แต่ปวดหน่วงอย่างรุนแรงในลูกตามากกว่าปวดตุบที่ขมับ เป็นการปวดครั้งแรกที่พบในคนวัยกลางคนขึ้นไป)
      โรคไมเกรนหรือโรคปวดหัวข้างเดียว (อังกฤษ: migraine) เป็นความผิดปกติทางประสาทเรื้อรังอย่างหนึ่ง ลักษณะเด่นคือปวดศีรษะปานกลางถึงรุนแรงเป็นซ้ำ มักสัมพันธ์กับอาการทางระบบประสาทอิสระจำนวนหนึ่ง
      ตรงแบบ อาการปวดศีรษะมีผลต่อศีรษะครึ่งซีก มีสภาพปวดตามจังหวะ (หัวใจเต้น) และกินเวลาตั้งแต่ 2 ถึง 72 ชั่วโมง อาการที่สัมพันธ์อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน และไวต่อแสง เสียงหรือกลิ่น โดยทั่วไปความเจ็บปวดรุนแรงขึ้นจากกิจกรรมทางกาย [url=http://siamguasa.com/%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84/%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%99/#01][1] 
      ผู้ป่วยไมเกรนถึงหนึ่งในสามมีสัญญาณบอกเหตุ (aura) คือ การรบกวนภาพ การรับความรู้สึก ภาษาหรือการสั่งการร่างกายซึ่งบ่งบอกว่าจะเกิดปวดศีรษะในไม่ช้า [1] บางครั้งสัญญาณบอกเหตุเกิดได้โดยมีการปวดศีรษะตามมาน้อยหรือไม่ปวดเลย
      เชื่อว่า ไมเกรนมีสาเหตุจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมผสมกัน [2] ผู้ป่วยประมาณสองในสามเป็นในครอบครัว [3] การเปลี่ยนระดับฮอร์โมนผสมกัน เพราะไมเกรนมีผลต่อเด็กชายมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อยก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ แต่ในผู้ใหญ่ หญิงเป็นมากกว่าชายประมาณสองถึงสามเท่า [4] [5] ความเสี่ยงของไมเกรนปกติลดลงระหว่างการตั้งครรภ์ [4] ยังไม่ทราบกลไกที่แน่ชัดของไมเกรน แต่เชื่อว่าเป็นความผิดปกติของประสาทควบคุมหลอดเลือด [3] ทฤษฎีหลักสัมพันธ์กับการเร้าได้ (excitability) ที่เพิ่มขึ้นของเปลือกสมองและการควบคุมผิดปกติของเซลล์ประสาทรับความเจ็บปวดในนิวเคลียสของประสาทไทรเจมินัลในก้านสมอง [6]
      เริ่มต้น การรักษาแนะนำ คือ ยาระงับปวดธรรมดา เช่น ไอบูโปรเฟนและพาราเซตามอล (หรืออะเซตามิโนเฟน) สำหรับปวดศีรษะ ยาแก้อาเจียนสำหรับคลื่นไส้ และการเลี่ยงตัวกระตุ้น อาจใช้สารเฉพาะเช่น ทริพแทนหรือเออร์โกทามีนในผู้ที่ยาระงับปวดธรรมดาใช้ไม่ได้ผล 15% ของประชากรทั่วโลกเคยเป็นไมเกรนครั้งหนึ่งในชีวิต
       

      พยาธิกำเนิดอาการปวดศีรษะไมเกรนเกี่ยวข้องกับหลอดเลือด สารชีวเคมีกลุ่ม peptide สารก่อการอักเสบที่ปลายประสาท Trigeminal และระบบประสาท โดยกลไกการเกิดล่าสุดที่พบ คือ genetic mutation ซึ่งผลของความผิดปกติของยีนส์เหล่านี้ทำให้มีปริมาณโปแทสเซียมและกลูตาเมตภายนอกเซลล์มากขึ้นซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของหลอดเลือดร่วมกับการกระตุ้นประสาทส่งผลให้การไหลเวียนเลือดเพิ่มมากขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ จากการขยายเส้นเลือดบริเวณศีรษะ หลังจากนั้นจะมีการไหลเวียนเลือดน้อยลงจากการหดหลอดเลือดบริเวณศีรษะ ซึ่งเป็นผลมาจากภาวะที่มีการกดประสาทจากการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือด นี้ทำให้เกิดการปวดศีรษะไมเกรนขึ้น


      อาการแสดงอาการปวดศีรษะไมเกรนมักจะปวดศีรษะครึ่งซีก แต่บางครั้งเป็นสองข้างก็ได้ โดยมักกินเวลาปวด 4-72 ชั่วโมง ซึ่งมักจะมีการปวดตุ๊บๆ และส่วนมากจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย รวมถึงอาจมีหรือไม่มีอาการนำทางสายตา เช่น เห็นแสงซิกแซก, แสงวาบ เป็นต้น อาการปวดศีรษะไมเกรนแบ่งตามอาการนำได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
      • Migraine without aura
        จะไม่มีอาการผิดปกติทางสายตานำมาก่อนการปวดศีรษะ มักจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้ว
      • Migraine with aura 
        จะมีอาการผิดปกติผิดปกตินำมาก่อนการปวดศีรษะ เช่น เห็นแสงซิกแซก, แสงวาบ โดยมักจะอาการเหล่านี้ก่อนปวดศีรษะประมาณ 1 ชั่วโมง นอกจากนั้นจะมีอาการเหมือน migraine without aura[/*]
      อาการทางคลินิกแบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ ระยะอาการนำ (Prodrome), ระยะออรา (aura), ระยะปวดศีรษะ, ระยะหายปวดศีรษะ (Resolution) และระยะภายหลังจากหายปวดศีรษะ (Postdrome) อาการแสดงทางคลินิกนี้ ผู้ป่วยแต่ละคนอาจมีอาการที่แตกต่างกัน เช่น migraine without aura จะไม่พบระยะออรา เป็นต้น
      • ระยะอาการนำ (Prodome) 
        จะพบอาการภายใน 24 ชั่วโมงก่อนมีอาการปวดศีรษะ เช่น หงุดหงิด อาการหิว ท้องเดิน ไม่มีสมาธิ อ่อนเพลีย เหม็นกลิ่นอาหาร เป็นต้น ซึ่งจะอาการเหล่านี้ในผู้ป่วยที่ปวดศีรษะไมเกรนประมาณ 50% ของผู้ป่วยไมเกร
      • ระยะออรา (aura) 
        จะพบอาการก่อนการปวดศีรษะประมาณ 1 ชั่วโมง จะพบอาการผิดปกติทางสายตา เช่น เกิดจุดเมื่อมองวัตถุ เห็นภาพผิดขนาด เห็นภาพเพียงครึ่งเดียว แสงซิกแซก มองเห็นเป็นเส้นคลื่น ซึ่งจะอาการเหล่านี้ในผู้ป่วยที่ปวดศีรษะไมเกรนประมาณ 20% ของผู้ป่วยไมเกร
      • ระยะปวดศีรษะ 
        มีอาการปวดศีรษะแบบจุดๆ ส่วนใหญ่จะปวดข้างเดียว แต่ก็พบที่ปวดศีรษะทั้งข้างได้เช่นกัน โดยมักจะมีเหล่านี้ร่วมด้วย ได้แก่ ปวดกระบอกตา ปวดต้นคอ คลื่นไส้อาเจียน กลัวแสง กลัวเสียง ซึ่งระยะมีระยะเวลา 4-72 ชั่วโม
      • ระยะหายปวดศีรษะ (Resolution) 
        อาการปวดศีรษะมักจะหายไปหลังจากที่ได้พักผ่อน เช่น การนอนหลั
      • ระยะภายหลังจากหายปวดศีรษะ (Postdrome) 
        หายจากอาการปวดศีรษะแต่ร่างกายมีอาการอ่อนล้า ศีรษะตื๊อๆ ความคิดไม่แล่น เฉยเมย จึงควรที่จะนอนพั
      ปัจจัยกระตุ้นอาการปวดศีรษะไมเกรนปัจจัยที่เป็นสาเหตุของโรคไมเกรน [7] มีหลากหลาย ผู้ป่วยแต่ละรายควรสังเกตว่าปัจจัยใดบ้างที่กระตุ้นอาการปวดศีรษะในตัวเอง ซึ่งจะได้หลีกเลี่ยงปัจจัยเหล่านั้น ซึ่งปัจจัยกระตุ้นได้แก่
      • อาหาร – อาหารบางชนิดกระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้เช่น คาเฟอีน, สารไทรามีนเช่น ชีส ผงชูรส (monosodium glutamate) ช็อกโกแลต สารที่ให้รสหวาน เช่น aspartame ผลไม้รสเปรี้ยว โยเกิร์ต และสารไนเตรทเช่น ไส้กรอก เป็นต้
      • ระดับฮอร์โมน – ระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงกระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้ เช่น ช่วงที่มีประจำเดือน รับประทานยาเม็ดคุมกำเนิด ได้รับฮอร์โมนทดแทน และกำลังตั้งครรภ์ เป็นต้
      • สภาพร่างกาย – สภาพร่างกายที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้ เช่น นอนไม่พอ เครียด ทำงานหนักมากเกินไป และอดอาหาร เป็นต้
      • การออกกำลังกาย – การออกกำลังกายที่มากเกินก็สามารถกระตุ้นให้เกิดการกำเริบของอาการปวดหัวไมเกรนได
      • สภาวะแวดล้อม – สภาวะแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะได้ เช่น อาการร้อนหรือหนาวจัด แสงแดดจ้า กลิ่นไม่พึงประสงค์บางอย่าง เช่น กลิ่นบุหรี่หรือกลิ่นน้ำหอม เป็นต้
      • ยาและสารเคมีบางชนิด – ยาและสารเคมีบางชนิดกระตุ้นให้เกิดการปวดศีรษะได้ เช่น nitroglycerine, Hydralazine, Histamine, Resepineเป็นต้
      เกณฑ์การวินิจฉัยไมเกรนแนวทางการวินิจฉัยไมเกรนใช้หลักเกณฑ์ของ International Headche Society (IHS) ซึ่งจำแนกออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
      ไมเกรน เป็นโรคปวดศีรษะชนิดหนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติระบบประสาทที่หลอดเลือดแดงบริเวณศีรษะ ซึ่งเป็นโรคเรื้อรังไม่หายขาด ซึ่งอาจจะเป็นๆ หายๆ จึงควรได้รับการวินิจฉัยแยกจากกลุ่มที่มีอาการคล้ายไมเกรน เช่น Cluster Headche, Tension Headcheลักษณะที่สำคัญของไมเกรน ประกอบด้วย ส่วนใหญ่มักจะปวดศีรษะข้างเดียวประมาณ 60% หรือจะมีอาการปวดศีรษะทั้ง 2 ข้างก็ได้ โดยทั่วไปจะมีอาการปวดศีรษะนาน 4-72 ชั่วโมงและมักจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนและเวียนศีรษะร่วมด้วย รวมถึงอาการกลัวแสงหรืออาการกลัวเสียงได้
      แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไมเกรน มีทั้งให้การรักษาแบบไม่ใช้ยาโดยการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยว พยาธิกำเนิด ปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ที่ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ รวมถึงการปรับเปลี่ยนวิถึชีวิต และการรักษาแบบใช้ยา โดยจำแนกออกเป็นยาป้องกันไมเกรนที่ต้องรับประทานทุกวันสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการตั้งแต่ 3 ครั้งต่อเดือน และยารักษาอาการปวดศีรษะเฉียบพลัน
      โรคไมเกรนที่ไม่มีอาการนำ
      [list=1]
      • ปวดศีรษะนาน 4-72 ชั่วโมง ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือรักษาไม่ได้ผ
      • อาการปวดศีรษะจะต้องประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 2 ข้อ ได้แก่
        • 2.1 ส่วนใหญ่ปวดศีรษะข้างเดียวแต่บางอาจปวดทั้งสองข้า
        • 2.2 ปวดตุ๊บๆเป็นจังหว
        • 2.3 อาการปวดศีรษะอยู่ในระดับปานกลางถึงรุนแร
        • 2.4 อาการปวดศีรษะทำให้ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้เป็นปกต
        [/*]
      • ระหว่างปวดศีรษะมีอาการอย

      

      GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

      Promotion
      บันทึกการเข้า
      หน้า: [1]
        พิมพ์  
       
      กระโดดไป:  

      ฐานข้อมูลผิดพลาด
      ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
      กลับ