ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่ส่งผลให้ร่างกายขาดแคลเซียม
- กินแคลเซียมไม่พอ
- ไม่ออกกำลังกาย
- ดื่มกาแฟเกินขนาด
- ดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
- ขาดฮอร์โมน Estrogen
vegus168 ก่อนวัยหมดประจำเดือน เช่น ต้องผ่าตัดรังไข่ 2 ข้างออก
- มีโครงร่างเล็ก
- มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุนหรือกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน
- เคยกระดูกหักมาก่อน
3 ปัญหาของคนที่ซื้อแคลเซียมทานเอง
กินแคลเซียมชนิดที่ดูดซึมไม่ดี ทำให้มีอาการท้องอืด ท้องผูก
กินมากเกินความจำเป็น ทำให้เกิดการสะสมของหินปูนในเต้านม ไต หลอดเลือด
4 การดูดซึมขึ้นอยู่กับชนิดของแคลเซียมที่เลือกรับประทาน
**ต้องเสริมวิตามินดีควบคู่ไปด้วย เพราะวิตามินดีเป็นเหมือนคู่หูของแคลเซียม ช่วยให้ลำไส้ดูดซึมแคลเซียมได้ดีขึ้น
**ไม่ควรกินแคลเซียมคู่กับ
- ยาปฏิชีวนะบางกลุ่ม (Tetracycline, Quinolone)
- ยาลดความดันบางกลุ่ม (Thiazide Diuretics, Calcium Channel Blockereg Nifedipine, Diltiazem, Verpamil) แคลเซียมจะเข้าไปยับยั้งการออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้
- ไม่ควรรับประทานแคลเซียมเกิน 1500 mg / วัน
- ปรึกษาคุณหมอประจำตัวก่อนเลือกรับประทาน
5 ถ้ากินในปริมาณที่มากเกินไป [url=https://www.vegus168s.com]เวกั