เตาไฟสแตนเลสพลังงานชีวมวลแบบพกพา ใช้พลังงานจากธรรมชาติ

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เตาไฟสแตนเลสพลังงานชีวมวลแบบพกพา ใช้พลังงานจากธรรมชาติ  (อ่าน 25 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
promiruntee
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 19636


ดูรายละเอียด










« เมื่อ: พฤศจิกายน 24, 2016, 12:48:44 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement


เตาชีวมว
[url=http://toolallaround.blogspot.com/2016/11/blog-post_71.html]เตาไฟสแตนเลสพลังงานชีวมวล ใช้เชื้อเพลิงที่หาได้จากธรรมชาติทั่วไปเช่นกิ่งไม้ใบหญ้า โครงสร้างของเตาออกแบบให้มีการเผาไหม้ที่สมบูรณ์กำเนิดเปลวไฟความร้อนสูง ทำจากวัสดุสแตนเลสมีความคงทนแข็งแรงไม่บิดงอขณะใช้งาน สามารถถอดแยกเป็นชิ้นๆเพื่อง่ายต่อการจัดเก็บและพกพา

- เตาชีวมวล ใช้เชื้อเพลิงจากธรรมชาติที่หาได้ทั่วไปเช่น กิ่งไม้ ใบไม้ หรือขี้เลื่อย
- เตาชีวมวลสแตนเลส ให้เปลวไฟที่มีความร้อนสูง
- เตาชีวมวลแกลบ ทำจากวัสดุสแตนเลสที่มีความแข็งไม่บิดงอง่ายขณะใช้งาน
- เตาแก๊สชีวมวล เหมาะสำหรับงานกลางแจ้ง เช่นเดินป่า แคมป์ปิ้ง
- สามารถถอดแยกเป็นชิ้นๆ ง่ายต่อการพกพาและจัดเก็บ
- ขนาด 8x9.4x13.89cm

 เชื้อเพลิงจากเศษไม้ ขี้เลื่อย แกลบ ฟางข้าว
การแปรรูปเศษไม้ไม่ใช้แล้วให้เป็นพลังงานทดแทน เป็นวิธีหนึ่งในการนำเศษไม้ไม่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ โดยปกติการนำชีวมวลไปใช้ประโยชน์ด้านพลังงานทดแทนสามรถทำได้สองแนวทางคือโดยกระบวนการทางชีวภาพและโดยกระบวนการด้านความร้อน พบว่า เศษไม้จากโรงงานแปรรูปไม้และผลิตผลิตภัณฑ์จากไม้มีข้อจำกัดทางองค์ประกอบทางกายภาพและเคมี ประกอบด้วยโมเลกุลของ คาร์บอน ไฮโดรเจน และธาตุต่างๆ ไม่เหมาะสมสำหรับกระบวนการแปรรูปพลังงานด้วยการใช้กระบวนการทางชีวภาพ ดังนั้น การนำเศษไม้ไม่ใช้แล้วจากโรงงานแปรรูปไม้และผลิตผลิตภัณฑ์จากไม้ไปใช้ประโยชน์ในด้านการแปรรูปเป็นพลังงาน จะใช้กระบวนการแปรรูปทางความร้อนเป็นหลัก เช่น เทคโนโลยีแก๊สซิฟิเคชั่น

แก๊สซิฟิเคชั่น คือ เทคโนโลยีการแปรรูปชีวมวลให้เป็นพลังงานในรูปก๊าซเชื้อเพลิง (Fuel gases) โดยอาศัยกระบวนการทางเคมี ความร้อนจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในสภาวะจำกัดปริมาณอากาศ แสดงในรูปที่ 1 เมื่อให้ความร้อนแก่ชีวมวลร่วมกับเทคนิคการจำกัดปริมาณอากาศ (Air) หรือออกซิเจน (Oxygen, O2) หรือไอนํ้า (Steam) เพื่อให้เกิดสภาวะที่มีการควบคุมปริมาณออกซิเจนในสัดส่วนที่ตํ่ากว่าปริมาณที่ทำให้เกิดการเผาไหม้เชื้อเพลิงอย่างสมบูรณ์ (หรือทำให้เกิดสภาวะการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ที่มีการควบคุม) ทำให้ชีวมวลเกิดการแตกตัวเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon) ในรูปของแข็งและก๊าซ โดยก๊าซที่ได้จากกระบวนการนี้มีลักษณะเป็นก๊าซเชื้อเพลิงหลายชนิดปะปนอยู่ ซึ่งจะประกอบไปด้วย ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbonmonoxide, CO) ก๊าซไฮโดรเจน (Hydrogen, H2) ก๊าซมีเทน (Methane, CH4) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide, CO2) ก๊าซไนโตรเจน (Nitrogen, N2) และก๊าซอื่นๆ เรียกว่า โปรดิวเซอร์ก๊าซ (Producer gas) และหากก๊าซมีความบริสุทธิ์สูงจะประกอบไปด้วยก๊าซหลักๆ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และก๊าซไฮโดรเจน (H2) จะเรียกว่า ก๊าซสังเคราะห์ (Synthesis gas, SYNGAS)

กระบวนการแก๊สซิฟิเคชั่นจากชีวมวลเป็นกระบวนการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ ดังนั้น ปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้นจะมีความซับซ้อนและสามารถเกิดผลิตภัณฑ์หรือก๊าซหลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะของชีวมวลและเทคนิคในการจำกัดปัจจัยต่างๆ เช่น กรณีการใช้อากาศเป็นตัวทำปฏิกิริยาจะได้ก๊าซที่มีค่าความร้อนตํ่า หากมีการเติมไอนํ้าจะทำให้ได้ก๊าซที่มีค่าความร้อนเพิ่มสูงขึ้น ส่วนกรณีการใช้ออกซิเจนบริสุทธิ์แทนอากาศจะทำให้ได้ก๊าซที่มีค่าความร้อนสูง อย่างไรก็ดี ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าวไม่ได้มีเพียงแต่ก๊าซเชื้อเพลิงเท่านั้น ยังมีของแข็งและสิ่งเจือปนที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้หมด ได้แก่ ถ่านชาร์ (Char) เถ้า (Ash) นํ้ามันดิน (Tar) และไอนํ้า เป็นต้น

[/size]



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ