กล้องสำรวจทางวิศวกรรมทุกประเภท ได้แก่ กล้องวัดมุม ส่งถึงมือปริมณฑล

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กล้องสำรวจทางวิศวกรรมทุกประเภท ได้แก่ กล้องวัดมุม ส่งถึงมือปริมณฑล  (อ่าน 15 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
itopinter_111
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 19201


ดูรายละเอียด










« เมื่อ: พฤษภาคม 16, 2017, 07:08:49 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

กล้องสำรวจมือสอกล้องวัดมุมดิจิตอล,กล้องระดับ, Total station, ให้คำปรึกษาแนะนำ บริการซ่อม-สอบเทียบกล้องสำรวจทุกชนิด
การสำรวจนั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อการทราบพื้นที่ หรือกำหนดสูงโดยขึ้อยู่กับการสำรวจแต่ละชนิด ซึ่งมีความต้องการข้อมูลที่แตกต่างกันออกไป การสำรวจนั้นสามารถแบ่งออกต่ามลักษณะการใช้งานดังนี้

  • การสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ : สามารถกระทำได้โดยเครื่องบิน หรือดาวเทียม เพื่อให้เห็นสภาพภูมิประเทศโดยรวม
  • การสำรวจที่ดิน : การสำรวจเพื่อระบุมุดหลักเขต รวมทั้งกำหนัดหลักเขต ระยะ ทิศทางของที่ดิน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการจัดการเกี่ยวกับกรมมสิทธิ์ในที่ดิน
ธรณีวิทยา เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาองค์ประกอบ โครงสร้างเเละกระบวนการตามธรรมชาติของโลก ตลอดจนผลอันสืบเนื่องมาจากกระบวนการที่เกิดขึ้น รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาจากภาษากรีกว่า Geos ซึ่งแปลว่าโลก และ Logi หรือ Logus ซึ่งหมายถึงวิทยาศาสตร์ ดังนั้นธรณวิทยาจึงหมายถึงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโลกพิภพหรือโลกมนุษย์ (planet earth)
ส่วนคำว่าธรณีศาสตร์ (Earth Sciences) มักจะใช้กันอย่างผิดๆ ซึ่งความจริงมีความหมายกว้างกว่าธรณีวิทยามาก เพราะหมายถึงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโลก ซึ่งรวบรวมสรรพวิทยาและเนื้อหาครอบคลุมถึงปฐพีวิทยา ฯ ซึ่งไม่ใช่ส่วนของธรณีวิทยาจริงๆ หรืออาจกล่าวได้ว่า เนื้อแท้ของธรณีวิทยานั้นศึกษา วัสดุ (material) ของโลก
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าธรณีวิทยานั้นเน้นหนักและเกี่ยวข้องกับสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ (natural environment) อันเป็นสภาวะแวดล้อมหนึ่งในอีกหลายสภาพแวดล้อม อันประกอบด้วย

  • ชีวภาค (Biosphere หรือ Biospheric realm) อันได้แก่ อาณาจักรส่วนที่เป็นชีวิต เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นต้น

    GPS ย่อมาจากคำว่า Global Positioning System คือระบบนำทางโดยอาศัยการระบุพิกัด ตำแหน่งต่างๆ ที่อยู่บนโลกจากสัญญาณดาวเทียม

    การกำหนดตำแหน่งด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมระบบ GPS

    1. เครื่องรับสัญญาณแบบนำหน (Navigation Receiver)

  • การกำหนดตำแหน่งแบบสัมบูรณ์ (Absolute Positioning)

2. เครื่องรับสัญญาณแบบรังวัด (Survey or Geodetic Receiver)

  • การรังวัดแบบสถิต (Static Survey)


กล้องวัดมุมดิจิตอล PENTAX ETH-502 ความละเอียด 2ฟิลิดา

[url=https://2.bp.blogspot.com/-4gle9aRK5bc/Vxj41sanvuI/AAAAAAAACKw/NnDP-dIjjy4d_cfXe5IXUftP83ixz_bjwCLcB/s1600/0fddd61f-afc2-4dc5-b2d0-304ffa44f909.jpg]

กล้องวัดมุมดิจิตอล TOPCON DT-10, 20
Nomal Price : 26,000.00 บาท/ชุด
Price : Call บาท /ชุด
งานสำรวจออกแบบท่าเรือ
- งานสำรวจทางสมุทรศาสตร์ งานสำรวจภูมิประเทศ ดำเนินงานสำรวจเก็บข้อมูล การ ขึ้น ลง ของระดับน้ำ ความเร็ว ทิศทางการไหล ปริมาณตะกอน เป็นต้น
งานสำรวจระบบประปา
- งานสำรวจเก็บรายละเอียดภูมิประเทศและระดับ งานสำรวจภูมิประเทศ ดำเนินงานสำรวจภาคสนามด้วยกล้องวัดมุม-กล้องระดับตามแนวทาง เพื่อเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ เช่น ถนน อาคาร สาธารณูปโภค เสาไฟฟ้า ท่อประปา ท่อระบายน้ำ ต้นไม้ใหญ่ เป็นต้น โดยสำรวจเป็นวงรอบปิด พร้อมเก็บจุดระดับ เก็บรูปตัดตามยาวและขวาง เพื่อนำข้อมูลมาเขียนแผนที่ แปลน โปรไฟร์ มาตราส่วน 1:4,000 , 1:1,000 เพื่อใช้ในงานออกแบบรายละเอียดก่อสร้าง
 
งานสำรวจระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
- งานสำรวจภูมิประเทศ งานค้นหา ตรวจสอบพิกัด/ระดับ รทก. หมุดออกงาน ดำเนินงานค้นหา โครงข่ายหมุดพิกัด/ระดับ รทก. ของหน่วยงานราชการ กรมแผนที่ทหาร กรมชลประทาน เพื่อใช้เป็นหมุดโยงยึดค่าพิกัด/ระดับในโครงการ
 






กล้องวัดมุมแมคคานิกส์ NIkon NT-2BD
Nomal Price : 22,000.00 บาท/ชุด
Price : Call บาท /ชุด



กล้องวัดมุมดิจิตอล SOKKIA DT-5S
Nomal Price : 35,000.00 บาท/ชุด
Price : Call บาท /ชุด

การสำรวจถ่านหินทางธรณีวิทยา
ศึกษาธรณีวิทยาพื้นฐาน (Geologic Base Map)
จากการที่เราทราบว่าถ่านหินมักเกิดกับหินตะกอนยุคต่างๆ เช่น ในเมืองไทยมักเกิดในหินตะกอนยุคเทอร์เชียรี (อายุประมาณ 1.8-65 ล้านปี) เป็นต้น ดังนั้นจึงเริ่มด้วยการเลือกพื้นที่ที่มีสภาพธรณีวิทยาที่เหมาะสมโดยอาศัยแผนที่ธรณีวิทยา ซึ่งจะแสดงบริเวณที่จะพบแอ่งสะสมตัว ของตะกอน หลังจากที่ได้พื้น ที่ที่สนใจแล้ว ก็จะทำการรวบรวมข้อมูลเท่าที่มีอยู่ของพื้นที่นั้น ซึ่งเป็นส่วนสำคัญต่อการเริ่มต้นสำรวจ เป็น อย่างมาก ข้อมูลที่ทำการรวบรวมคือ
- แผนที่ธรณีวิทยาและแผนที่ภูมิประเทศ

การวางแผนสำรวจ (Exploration Plan)
เมื่อได้แผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วนที่เหมาะสม (เช่น 1:25,000) ขึ้นกับขนาดความใหญ่เล็กของแอ่งนั้นๆ แล้ว นักธรณีวิทยาก็จะนำมาวางแผน เพื่อ กำหนดหลุมเจาะขั้นแรกและสำรวจด้วยวิธีอื่นๆ เช่นธรณีฟิสิกส์ต่อไป แผนการสำรวจที่ดีจะต้องประหยัด รวดเร็วและถูกต้องตามฤดูกาล และสภาพแวดล้อม ในสนาม
 
การเจาะสำรวจ (Drilling)
การเจาะสำรวจระยะแรก (Scout Drilling)
ในการสำรวจขั้นนี้ นักธรณีวิทยาจะกำหนดหลุมเจาะ ตามสภาพธรณี วิทยาพื้นผิวและลักษณะรูปร่างของแอ่ง เพื่อการศึกษาข้อมูลใต้ผิวดิน ในขั้นต้น หลุมเจาะบางหลุมต้องทำการเก็บแท่งตัวอย่าง (Core Sample) เพื่อนำมา วิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมี โดยจะเก็บ Core ประมาณ 10% ของหลุมเจาะ ทั้งหมดในขั้นนี้ ในขณะที่อีก 90% เป็นการ เจาะแบบเก็บเศษตัวอย่าง (Cutting) ทั้งหลุม ซึ่งหลุมชนิดนี้เรียกว่า Open hole





มีบริการหลังการขาย ดังนี้

- การสาธิตและฝึกอบรมให้แก่ผู้ใช้งาน



ต้องการติดต่อaddไลน์ของเรา LINE ID: @998-p1


ขอบคุณบทความจาก : [url]http://pasan-survey.blogspot.com/[/url]

Tags :  กล้องระดับ, กล้อง Total station, ขายกล้องสำรวจมือสอง



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ