รับสอนพิเศษทุกระดับชั้น ภาษาอังกฤษ เก่งได้

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: รับสอนพิเศษทุกระดับชั้น ภาษาอังกฤษ เก่งได้  (อ่าน 20 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
nitigorn20
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 20426


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: มิถุนายน 11, 2017, 09:26:25 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

รับสอนพิเศษโดยพี่ๆ มข. สังคมศาสตร์ เก่งได้  เรียนพิเศษขอนแก่น
เรียนพิเศษ #ขอนแก่น
มีปัญหาปรึกษาเราได้
085-1775138 พี่แพรวา

สังคมศาสตร์ คือ อะไร?
สังคมศาสตร์ คือ การประยุกต์ใช้วิธีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาพฤติกรรมและสังคมมนุษย์ นอกจากสังคมวิทยาจะเป็นวิชาที่มีความใกล้เคียงและสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติตลอดจนวิธีการที่ใช้ในการศึกษาแล้ว สังคมวิทยายังมีความสัมพันธ์กับสังคมศาสตร์สาขาอื่น ๆ อีกด้วย
สังคมวิทยาถือได้ว่าเป็นสาขาวิชาที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษาสังคมและพฤติกรรมของมนุษย์ และถือได้ว่าเป็นศาสตร์ที่ได้มีการพัฒนาขึ้นมาใหม่สาขาหนึ่ง
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คือการศึกษาธรรมชาติและกายภาพของโลกอย่างมีระเบียบวิธี สาขาวิชาหลัก ๆ ที่จัดอยู่ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ได้แก่ ชีววิทยา (Biology),ธรณีวิทยา(Geology),เคมี (Chemistry) และฟิสิกส์ (Physics) ซึ่งแต่ละสาขาวิชายังแบ่งออกเป็นสาขาย่อยเฉพาะด้านได้อีกดังนี้
-ชีววิทยา แบ่งเป็น พฤกษศาสตร์และสัตววิทยา

สังคมศาสตร์
สังคมศาสตร์ (Social sciences) คือ การศึกษาสังคมและพฤติกรรมของมนุษย์โดยนำเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์การประยุกต์ใช้ สาขาวิชาหลัก ๆ ที่จัดอยู่ในสังคมศาสตร์มีดังนี้ คือ
-เศรษฐศาสตร์ (Economics) มีสาขาย่อย ได้แก่ เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค

สังคมศาสตร์ (Sociai Sciences) เป็นศาสตร์หรือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาสังคมมนุษย์ ซึ่งผมคิดว่าเขาคงพยายามจะศึกษาสังคมมนุษย์ให้ครอบคลุมทุกด้านมากที่สุด แม้ว่าสังคมมนุษย์จะมีความหลากหลายในหลายๆ ด้านมากก็ตาม
ด้วยเหตุนั้นเราก็เลยได้เห็นวิชาต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็น กฎหมาย เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา รัฐศาสตร์ ศาสนา ปรัชญา เทววิทยา และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งแต่ละสาขาวิชาก็พยายามจะศึกษาเจาะลึกลงไปในสาขาให้มากที่สุด

 
มนุษย์คือใคร : ทัศนะด้านสังคมศาสตร์

การศึกษามนุษย์ในเชิงสังคมศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสังคมและคุณค่า ดีชั่ว ที่มนุษย์ยึดถือ และเป็นการศึกษาในเชิงข้อเท็จจริงว่า เป็น “อะไร” “อย่างไร” เท่านั้น มิได้ประเมินค่าว่าอะไร “ควร” “ไม่ควร” ดังนั้นสังคมศาสตร์แม้จะศึกษา วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนาก็มิได้ศึกษาในเชิงประเมินค่า แต่ศึกษาว่า สังคมใดยึดถือประเพณีหรือความเชื่ออะไร ปฏิบัติอย่างไร และอะไรเป็นสาเหตุ ที่ทำให้เกิดประเพณีหรือความเชื่อเช่นนั้น (สมภาร พรหมทา, 2543: 1-2) ในความเป็นจริงนักสังคมศาสตร์ก็คือนักวิทยาศาสตร์หรือนักวิทยาศาสตร์ที่ยึดเอาสังคมมนุษย์เป็นหน่วยในการศึกษา ความรู้และความเข้าเกี่ยวกับมนุษย์ในทัศนะของนักสังคมศาสตร์สามารถสะท้อนให้เห็นถึงภาพรวมของมนุษย์ในระดับสังคมและวัฒนธรรมมากกว่าระดับปัจเจกชน

สังคมศาสตร์นั้นมีมโนทัศน์เกี่ยวกับมนุษย์ที่สำคัญอยู่ 3 อย่าง คือ
(1) มนุษย์เป็นสัตว์สังคม
(2) มนุษย์คือสัตว์เศรษฐกิจที่มุ่งแสวงหากำไรสูงสุด และ
(3) มนุษย์คือผู้มีชีวิตอยู่เพื่อค้นหาความหมายและคุณค่าของชีวิต

  • มนุษย์คือผู้มีชีวิตอยู่เพื่อค้นหาความหมายและคุณค่าของชีวิต  นักสังคมศาสตร์จำนวนหนึ่งได้พยายามที่จะนำเสนอว่า มนุษย์คือผู้มีชีวิตอยู่เพื่อค้นหาความหมายและคุณค่าของชีวิต นักสังคมศาสตร์ในกลุ่มนี้ให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับการกระทำเชิงสัญลักษณ์และความหมายต่างๆ ที่เกิดจากการตีความและพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ นักสังคมวิทยา เช่น แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) และจอร์จ เฮอร์เบิร์ต มีด (George H. Head) และนักมานุษยวิทยา เช่น ฟรานซ์ โบแอช (Franz Boas) มากาเร็ต มีด (Magaret Mead) และคลิฟฟอร์ด เกียรซ์ (Clifford geertz) ต่างก็ให้ความสำคัญในการอธิบายธรรมชาติของมนุษย์ในฐานะที่เป็นมนุษย์ผู้มีชีวิตอยู่ได้ด้วยความหมายและความเข้าใจที่มีต่อตัวเอง สังคมรอบข้างและต่อสภาพแวดล้อม มนุษย์ไม่เพียงแต่เป็นสัตว์สังคมที่มีเหตุผล ไม่เพียงแต่เป็นสัตว์เศรษฐกิจและการเมือง หากพวกเขาคือนักปราชญ์ผู้ไม่อาจจะดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยปราศจากการทำความเข้าใจความหมายของชีวิตและระบบสังคมวัฒนธรรมของตน มนุษย์ในแง่นี้จึงเป็นเสมือนผู้สร้างภาพลักษณ์ของตัวเองและนิยามตัวเองอยู่ตลอดเวลา

มธ. เผยผลสำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตจบใหม่ ชี้แพทย์ ได้เงินเดือนสูงสุด ส่วนโอกาสทำงาน บัญชี แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล และสหเวชศาสตร์ มีงานทำสูงสุด 100% เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2556 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดเผยผลการสำรวจ “ภาวะการมีงานทําของบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นปี การศึกษา 2554″ ซึ่งจัดเก็บข้อมูลในเดือนสิงหาคม 2555 และติดตามภาวะการมีงานทํา ต่อเนื่องจนถึงเดือนพฤษภาคม 2556โดยนําเสนอข้อมูลทั้งหมดในภาพรวมรายกลุ่มสาขาวิชา 3 กลุ่มสาขาวิชา ได้แก่ กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
โดยผลสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นปี การศึกษา 2554 พบว่า บัณฑิตระดับปริญญาตรีภาคปกติ สําเร็จการศึกษาทั้งสิ้น 5,693 คน และได้ตอบแบบสํารวจภาวะการมีงานทํา 5,107 คน (ร้อยละ 90.75) ในจํานวนนี้
ส่วนประเภทงานที่ทำ
พนักงานบริษัท/องค์กรธุรกิจเอกชน ร้อยละ 68.71 (2,503 คน)
ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ร้อยละ 12.93 (471 คน)
ธุรกิจอิสระ/เจ้าของกิจการ ร้อยละ 7.91 (288 คน)
ประกอบอาชีพอื่น ๆ ร้อยละ 4.97 (181 คน)
พนักงาน/ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 1.78 (65 คน)
พนักงานองค์การต่างประเทศ/ระหว่างประเทศ ร้อยละ 1.15 (42 คน)
ไม่ระบุ ร้อยละ 2.55 (93 คน)

ส่วนบัณฑิตที่ไม่พึงพอใจในงานที่ทํา มีสาเหตุเนื่องจาก
ไม่พอใจค่าตอบแทน ร้อยละ 25.14 (132 คน)
ไม่ได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา ร้อยละ 21.90 (115 คน)
ระบบงาน ร้อยละ 20.00 (105 คน)
ขาดความก้าวหน้า ร้อยละ 11.81 (62 คน)
ขาดความมั่นคง ร้อยละ 8.95 (47 คน)
สาเหตุอื่น ๆ ร้อยละ 8.19 (43 คน)
ผู้ร่วมงาน ร้อยละ 4.00 (21 คน)

 เรียนเเล้วเเต่ทำไม่ได้ เรียนเเล้วลืม เรียนเหมือนไม่ได้เรียน ทั้งๆที่ตั้งใจเรียนเเล้ว
- บางคนเข้าใจทันทีที่สอน บางคนต้องนั่งคิดสักพัก บางคนต้องให้เพื่อนช่วยอธิบายจึงจะเข้าใจ หัวใจสำคัญอยู่ที่การทบทวน เเละการหาตัวช่วยในอธิบาย

Tags : ติวเตอร์ของแก่น



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ