Advertisement
http://www.osbbuilder.comประเภทของ
ไม้อัด osb ราคและการนำไปใช้งาน
[url=http://www.osbbuilder.com]ไม้อัด osb หรือที่มีชื่อเรียกเต็ม ๆ ว่าไม้อัดเกล็ดเรียงชิ้น เป็นประเภทของไม้อัดชนิดหนึ่งที่ผลิตขึ้นมาเพื่อให้มีคุณสมบัติพิเศษต่างจากไม้อัดทั่วไป โดยเน้นการให้ความแข็งแรงทนทานที่มากกว่าไม้อัดธรรมดาทั่วไปถึง 3 เท่า สามารถใช้ในงานก่อสร้าง ทำได้ทั้งหลังคา ผนังห้อง พื้นชิ้นส่วนของเฟอร์นิเจอร์ ส่วนประกอบของบันได ขอบคิ้วไม้ รวมถึงตู้ขนส่งสินค้าด้วย ความแข็งแรงทนทานของ
ไม้อัด osb ราคได้มาจากขั้นตอนการผลิตที่ต่างจากการผลิตไม้อัดทั่วไป มีการนำชิ้นไม้เล็ก ๆ ไปผสมกาว และเรียงชิ้นไม้เล็ก ๆ ให้เสี้ยนไม้หันไปในทิศทางเดียวกัน มีการเรียงกันอย่างน้อย 3 ชั้น แต่ละชั้นมีการสลับทิศทางของเสี้ยนไม้ด้วยเพื่อความแข็งแรงทนทาน
[url=http://www.osbbuilder.com]ไม้ osb ยังขึ้นชื่อในเรื่องความสามารถในการทนน้ำและความชื้นได้ดี เมื่อเผชิญกับน้ำและความชื้น ไม้อัด osb จะไม่มีการบวม โค้งงอ แตก และไม่บิดเบี้ยวเหมือนกับไม้อัดประเภทอื่น นอกจากนี้ การใช้ไม้ประเภทนี้ไม่ต้องกังวลกับเรื่องปลวกและแมลงกัดกินด้วย สำหรับประเภทของ
ไม้ osb แบ่งย่อย ๆ ตามคุณสมบัติของความแข็งแรงทนทาน โดยขึ้นอยู่กับความต้องการในการนำไปใช้งาน ได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้1. แบบป้องกันปลวกและเชื้อรา ไม้อัดประเภทนี้มีการนำส่วนผสมของสาร Zinc Borates ที่มีความเข้มข้นสูง ทำให้สามารถกันปลวกและแมลงต่าง ๆ พร้อมกันนั้นยังสามารถกันเชื้อราได้ด้วย สามารถนำมาใช้ทำเป็นโครงสร้างของบ้าน เช่น พื้น หลังคา กำแพง ผนังห้อง และฝ้า2. แบบป้องกันปลวก มีการใส่ส่วนผสมของสาร Zinc Borates ในอัตราส่วนที่ช่วยป้องกันปลวกและแมลงกัดกินเนื้อไม้ โดยอัตราส่วนที่ใช้ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้งาน นิยมนำไม้มาใช้ทำส่วนประกอบของเฟอร์นิเจอร์ เช่น ผนังเก้าอี้ ท็อปครัว ชั้นวางของ เป็นต้น3. แบบมาตรฐาน
ไม้อัด osb ทั่วไป ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้งานที่ต้องการความแข็งแรงทนทาน และกันความชื้นได้มากกว่าไม้อัดทั่วไป นิยมนำมาใช้ทำเป็นลังไม้ ตู้ขนส่งสินค้าหรืองานประดิษฐ์ต่าง ๆไม้ประเภทนี้มีให้เลือกใช้งานหลายขนาด และมีความหนาให้เลือกใช้ตั้งแต่ 6 – 25 มิลลิเมตร ราคาขึ้นอยู่กับแต่ละประเภท เนื่องจากมีการผสมสารเพื่อเพิ่มคุณสมบัติเฉพาะตัวมากน้อยแตกต่างกันไป ซึ่งผู้ใช้จะเลือกไม้แบบใดก็ต้องพิจารณาที่จุดประสงค์และงบประมาณเป็นหลัก เพื่อไม่ให้เกิดภาระการเงินในภายหลัง
http://www.osbbuilder.com