itopinter_111
|
|
« เมื่อ: มกราคม 10, 2018, 09:39:25 pm » |
|
Advertisement
พลูคาวพลูคาว (Plu Kaow) ชื่อวิทยาศาสตร์ Houttuynia cordata Thunb. จัดอยู่ในวงศ์ผักคาวตอง (SAURURACEAE)พลูคาว เป็นไม้ล้มลุก พบได้ทั่วไปในแถบทวีปเอเชียในแถบเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงเวียดนาม ญี่ปุ่น รวมถึงไทยด้วย เป็นที่รู้จักกันดีในทางภาคเหนือเนื่องจากลักษณะของต้นที่มีกลิ่นคาวจึงเรียกกันในท้องถิ่นว่า ผักคาวตอง (ลำปาง, อุดรธานี) คาวทอง (อุตรดิตถ์, มุกดาหาร) ผักก้านตอง (แม่ฮ่องสอน) ผักคาวปลา, ผักเข้าตอง, ผักคาวตอง (ภาคเหนือ) ส่วนภาคกลางมักจะนิยมเรียกว่า พลูคาวสรรพคุณของพลูคาว[list=1] - [img width=200,height=233]https://medthai.com/wp-content/uploads/2013/07/Plu-Kaow-2.jpg[/img]มีฤทธิ์ในการช่วยต่อต้านมะเร็ง ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง[/*]
- มีฤทธิ์ในการช่วยบำบัดฟื้นฟูโรคความดันโลหิตสูง[/*]
- ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย ต้านทานโรค ช่วยยืดอายุผู้ป่วยให้อยู่สู้โรคได้นานมากขึ้น[/*]
- มีส่วนช่วยยับยั้งเบาหวาน รักษาความสมดุลของร่างกาย[/*]
- ช่วยทำให้กระดูกเชื่อมติดกันเร็วขึ้น (ต้นสด)[/*]
- ช่วยรักษาปริมาณของเหลวในร่างกาย[/*]
- ช่วยรักษาอาการหูชั้นกลางอักเสบ (ทั้งต้น)[/*]
- ใช้รักษาโรคติดเชื้อและทางเดินหายใจ (ต้น)[/*]
- ประโยชน์ของผักคาวตองช่วยแก้ไข้ (ใบ)[/*]
- ช่วยรักษาโรคไข้มาลาเรีย (ต้น)[/*]
- ใช้เป็นส่วนผสมในตำรับยาที่เป็นน้ำยาข้น ใช้ทารักษาและช่วยต้านเชื้อโรคหวัด ไข้หวัดใหญ่[/*]
- ใช้เป็นส่วนประกอบในตำรับยา ช่วยรักษาอาการติดเชื้อเฉียบพลัน ติดเชื้อทางเดินหายใจ[/*]
- ใช้เป็นส่วนผสมในตำรับยาที่เป็นน้ำยาข้น ใช้ทารักษาคางทูม ต่อมทอนซิลอักเสบ และปอดอักเสบในเด็ก[/*]
- คาวตองมีสรรพคุณช่วยแก้และบรรเทาอาการไอ (ทั้งต้น)[/*]
- มีส่วนช่วยกระตุ้นการแบ่งตัวของเซลล์เม็ดเลือดขาวช่วยรักษาภาวะภูมิแพ้ หอบหืด[/*]
- ช่วยรักษาโรคไอกรน (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ช่วยรักษาการอักเสบชนิดธรรมดาบริเวณแก้วตา (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ช่วยรักษาโรคหลอดลมอักเสบ (ทั้งต้น)[/*]
- ช่วยรักษาโรคหลอดลมขยายตัวมากเกินไป (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ช่วยรักษาอาการปอดบวม ปอดอักเสบ (ทั้งต้น)[/*]
- ช่วยรักษาฝีหนองในปอด (ต้น)[/*]
- ช่วยรักษาอาการคั่งน้ำในอกจากโรคมะเร็ง (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[img width=200,height=200]https://medthai.com/wp-content/uploads/2013/07/Plu-Kaow-3.jpg[/img][/*]
- ช่วยลดอาการบวมน้ำ (ทั้งต้น)[/*]
- ใช้เป็นยาระบาย อาหารไม่ย่อย (ใบ)[/*]
- รักษาอาการท้องเสีย (ใบ)[/*]
- ใช้แก้โรคบิด (ต้น, ใบ, ทั้งต้น)[/*]
- ช่วยขับพยาธิ (ใบ)[/*]
- ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ (ราก, ทั้งต้น)[/*]
- ช่วยรักษาอาการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (ทั้งต้น)[/*]
- ช่วยรักษาริดสีดวงทวาร (ต้นสด, ใบ, ทั้งต้น)[/*]
- ช่วยรักษาโรคหนองใน (ใบ)[/*]
- ใช้ปรุงเป็นยาแก้กามโรค (ใบ)[/*]
- ช่วยรักษานิ่ว (ต้น)[/*]
- ช่วยแก้โรคไต (ใบ)[/*]
- ช่วยรักษาอาการไตผิดปกติ (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ช่วยรักษาโรคตับอักเสบชนิดดีซ่าน (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ช่วยขับระดูขาว (ต้น)[/*]
- ช่วยรักษาแผลอักเสบคอมดลูก (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ช่วยรักษาการอักเสบบริเวณกระดูกเชิงกราน (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ช่วยแก้โรคข้อ (ใบ)[/*]
- ช่วยรักษาโรคหัด (ใบ)[/*]
- ช่วยรักษาโรคผิวหนังต่าง ๆ (ต้นสด, ใบ)[/*]
- ช่วยรักษาผื่นคัน ฝีฝักบัว (ต้นสด)[/*]
- มีฤทธิ์ช่วยระงับอาการปวด[/*]
- ช่วยห้ามเลือด[/*]
- มีฤทธิ์ต้านการอักเสบต่าง ๆ[/*]
- ใช้พอกฝี บวมอักเสบ (ต้นสด, ทั้งต้น)[/*]
- ช่วยรักษาบาดแผล (ต้นสด)[/*]
- ช่วยรักษาแผลเปื่อย (ต้นสด)[/*]
- [img width=200,height=276]https://medthai.com/wp-content/uploads/2013/07/Plu-Kaow-4.jpg[/img]ช่วยรักษาแผลให้หายเร็วขึ้น (ใบ)[/*]
- ใช้พอกแผลที่ถูกงูพิษกัด (ต้นสด)[/*]
- ช่วยป้องกันการติดเชื้อหลังผ่าตัด (ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์)[/*]
- ใบสดผิงไฟพอนิ่มใช้พอกเนื้องอกต่าง ๆ (ใบ)[/*]
- มีฤทธิ์ช่วยต่อต้านเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส[/*]
- ประโยชน์ของพลูคาวช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของไวรัสชนิดต่าง ๆ เช่น ไข้ทรพิษ หัด งูสวัด เริม เอดส์ (HIV)[/*]
- แก้โรคน้ำกัดเท้า[/*]
- ในประเทศจีนใช้เป็นส่วนผสมในตำรับยาช่วยป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากไวรัสในไก่ โดยใช้ผสมในอาหารที่ใช้เลี้ยงไก่[/*]
- ใบสดใช้ป้องกันปลาเน่าเสีย (ใบ)[/*]
- ใบนำมารับประทานเป็นผักสด[/*]
- ใบสดต้มน้ำนำมารดต้นข้าว ข้าวสาลี ต้นฝ้าย ป้องกันพืชเป็นโรคเหี่ยวเฉาตาย[/*]
- ใช้ขับทากที่ตายในท้อง (ดอก)[/*]
- เหมาะกับผู้ป่วยและผู้ที่ต้องการบำรุงร่างกาย ผู้ป่วยในระยะพักฟื้น[/*]
- เหมาะกับผู้ที่ต้องการ Detox ล้างพิษออกจากร่างกาย ป้องกันโรคร้าย ช่วยให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันแข็งแรงขึ้น ทำให้โรคต่าง ๆ มีอาการดีขึ้น และหายจากอาการของโรคต่าง ๆ ได้ในที่สุด[/*]
- ใช้ควบคู่กับการรักษาด้วยเคมีบำบัดหรือการฉายรังสี จะช่วยให้ผู้ป่วยมีอาการแพ้น้อยลง[/*]
- ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสำอางประเภทครีมทาแก้ผิวหนังแห้ง หยาบกร้าน ป้องกันผิวหนังแตก[/*]
วิธีใช้ทั้งต้นแห้งประมาณ 15-30 กรัม (ต้นสด 30-60 กรัม) นำมาแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 3 นาที แล้วนำมาต้มน้ำให้เดือดประมาณ 5 นาทีแล้วนำมาดื่ม แต่หากใช้ร่วมกับสมุนไพรหรือยาชนิดอื่น ให้ต้มยาอื่นให้เดือดก่อนจึงใส่ยา ต้มให้เดือด การรับประทานถ้ามากเกินไปอาจจะทำให้หัวใจเต้นสั้นและถี่ อาจเป็นอันตรายได้โกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) สรรพคุณ / ประโยชน์ของโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ความสำคัญของผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เป็นที่รู้จักกันอย่างดีในแถบเอเชียว่าเป็นอาหารที่อุดมไปด้วยคุณค่าด้านสารอาหารมากที่สุด ผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ใช้เป็นส่วนประกอบที่สำคัญทางยาจีนแผนโบราณซึ่งได้มีการบันทึกในประวัติศาสตร์จีนเกือบ 2,000 ปี จากตำนานที่ไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานพบว่า โกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เป็นพืชโบราณที่มีอายุมากว่าที่จดบันทึกไว้ราว 2,800 ปี ก่อนพุทธกาล ผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เป็นที่นิยมในประเทศในประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอื่นๆ ในระดับแนวหน้าอุตสาหกรรมรมอาหารระดับโลก เพราะผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) อุดมไปด้วยคุณค่าด้านสารอาหารและการต่อต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) โกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) มีพลังแอนตี้ออกซิแดนซ์ (ต่อต้านอนุมูลอิสระจากการทำลายเซลล์และชะลอความชรามากที่สุดในโลก) สรรพคุณ และ ประโยชน์ของโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ได้แก่ 1. ประกอบด้วยกรดอะมิโน 19 ชนิด (ปกติมี 20 ชนิด) แต่มีกรดอะมิโนครบทั้ง 9 ชนิด 2. มีแร่ธาตุที่ร่างกายต้องกายในปริมาณน้อย รวม 21 ชนิด ที่สำคัญได้แก่ สังกะสี เหล็ก ทองแดง แคลเซี่ยม ฟอสฟอรัส ซิลีเนียม และเจอร์มาเนียม ฯลฯ 3. มีวิตามินซีสูงกว่าส้ม 500 เท่า (เป็นพืชที่มีวิตามินิซีสูงเป็นอันดับสอง รองจาก คามู คามูเบอร์รี่) 4. มีวิตามิน บี1 บี2 บี6 และวิตามินอี 5. มีสารโพลี่แซคคาไรด์ 4 ชนิด : LBP-1, LBP-2, LBP-3, LBP-4 - ช่วยทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอยู่ในสภาวะสมดุลดี - ช่วยปรับความดันโลหิตให้ปกติ - ช่วยให้น้ำตาลในเลือด และอินซูลินอยู่ในสภาวะสมดุล - ช่วยลดน้ำหนัก โดยเสริมการเปลี่ยนอาหารให้เป็นพลังงานแทนไขมัน - ช่วยฟื้นฟูสภาพเซลล์ที่ถูกทำลายจากสารเคมีหรือรังสีให้สู่ปกติได้เร็วขึ้น 6. มีสารเจอร์มาเนี่ยม Germanium : Ge ที่อยู่ในสภาพอินทรีย์ (organic) ช่วยฆ่าเซลล์มะเร็ง
7. มีสารซิแซนทิน(Zeaxanthin) มีสูงถึง162 มก./100 กรัมสูงกว่าสาหร่ายเกลียวทองประมาณ 5 เท่า - ช่วยบำรุงสายตา และป้องกันแสงสีน้ำเงินที่ทำลายดวงตา - ช่วยผู้มีอาการ ต้อลม ตาพร่า ตามัว ให้คืนสู่สภาพปกติ 8. เบต้า - ไซโตสเตอรอล (Beta - sitosterol) - ช่วยลดคอเลสเตอรอลโดยการดูดซึมที่ลำไส้ - ช่วยลดอาการต่อมลูกหมากโต - ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพน้ำอสุจิให้แข็งแรง 9. ไซเพอโรน (Cyperone) ช่วยให้หัวใจและความดันทำงานได้ปกติ 10. ไฟซาลิน (Physalin) ช่วยกำจัดโรคร้าย ลิวคีเมีย (Leukemia) 11. บีรเทน (Betaine) เป็นสารประกอบที่ให้ตับใช้ ผลิตโคลีนซึ่งเป็นสารประกอบที่ - ช่วยให้มีความจำดี - ช่วยกระตุ้นให้กล้ามเนื้อเจริญเติบโต - ช่วยป้องกันโรคตับ 12. สารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาผักและผลไม้อื่นๆ คือ มีค่า ORAC สูง 25,300 unite จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นคุณสามารถดื่มน้ำโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เพื่อรักษาและป้องกันอาการต่างๆ ได้ เพราะน้ำโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ก็คือ น้ำผลไม้ไม่ใช่ยา ไม่มีผลข้างเคียง ชาวจีนใช้กันมาเป็นเวลายาวนานกว่า 3,000 ปี
เถาวัลย์เปรียง
เถาวัลย์เปรียงเถาวัลย์เปรียง ชื่อสามัญ Jewel vine[1],[3],[6]เถาวัลย์เปรียง ชื่อวิทยาศาสตร์ Derris scandens (Roxb.) Benth. จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE) และอยู่ในวงศ์ย่อยถั่ว FABOIDEAE (PAPILIONOIDEAE หรือ PAPILIONACEAE)[1],[3],[6]สมุนไพรเถาวัลย์เปรียง มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า เครือตาปลา เครือไหล (เชียงใหม่), เครือตับปลา (เลย), เถาตาปลา เครือเขาหนัง ย่านเหมาะ (นครราชสีมา), พานไสน (ชุมพร), เครือตาป่า เครือตับปลา เครือเขาหนัง เครือตาปลาโคก (หากเกิดบนบก) เครือตาปลาน้ำ (หากเกิดในที่ลุ่ม) (ภาคอีสาน), เถาวัลย์เปรียงขาว เถาวัลย์เปรียงแดง (ภาคกลาง), ย่านเหมาะ ย่านเมราะ (ภาคใต้) เป็นต- ต้นเถาวัลย์เปรียง จัดเป็นไม้เถาเลื้อยขนาดใหญ่ สามารถเลื้อยไปได้ไกลถึง 20 เมตร มีกิ่งเหนียวและทนทาน กิ่งแตกเถายืดยาวอย่างรวดเร็ว เถามักเลื้อยพาดพันตามต้นไม้ใหญ่ เถาแก่มีเนื้อไม้แข็ง เปลือกเถาเรียบและเหนียว เป็นสีน้ำตาลเข้มอมสีดำหรือแดง เถาใหญ่มักจะบิด เนื้อไม้เป็นสีออกน้ำตาลอ่อน ๆ มีวงเป็นสีน้ำตาลไหม้คล้ายกับเถาต้นแดง (เนื้อไม้มีรสเฝื่อนและเอียน) ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ดหรือวิธีการแยกไหลใต้ดิน ชอบอากาศเย็นแต่แสงแดดจัด ทนความแห้งแล้งได้ดี หากปลูกในที่แล้งจะออกดอกดก แต่จะมีขนาดเล็กกว่าปลูกในที่ชุ่มชื้น พรรณไม้ชนิดนี้มักขึ้นเองตามชายป่าและที่โล่งทั่วไป เป็นพรรณไม้ที่มีมากที่สุดในประเทศไทยและใช้กันทุกจังหว[/*]
[img width=570,height=416]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img]- ใบเถาวัลย์เปรียง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกออกเรียงสลับกัน มีใบย่อย 4-8 ใบ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปรี ปลายใบเป็นรูปหอก โคนใบมน ขอบใบเรียบ ใบย่อยมีขนาดกว้างประมาณ 1-1.25 เซนติเมตรและยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร หลังใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม ท้องใบเรีย[/*]
[img width=570,height=331]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img][img width=570,height=394]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img]- ดอกเถาวัลย์เปรียง ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด ช่อดอกเป็นสีขาวห้อยลง ดอกเป็นสีขาวอมสีม่วงอ่อนคล้ายกับดอกถั่ว กลีบดอกมี 4 กลีบและมีขนาดไม่เท่ากัน สวนกลีบเลี้ยงดอกมีลักษณะเป็นรูปถ้วย สีม่วงแด[/*]
[img width=570,height=398]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img][img width=570,height=412]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img]- ผลเถาวัลย์เปรียง ออกผลเป็นฝักแบน โคนฝักและปลายฝักมน ฝักเมื่อแก่เป็นสีน้ำตาลอ่อน ภายในฝักมีเมล็ดประมาณ 1-4 เมล็[/*]
[img width=570,height=320]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%9D%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img]สรรพคุณของเถาวัลย์เปรียง[list=1] - เถาใช้ต้มรับประทานเป็นยาถ่ายกระษัย แก้กระษัย (เถา)[1],[2],[4],[5][/*]
- รากมีรสเฝื่อนเมา ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ (ราก)[1],[2],[4] ใช้เป็นส่วนประกอบของยาอายุวัฒนะ เพื่อช่วยทำให้ร่างกายแข็งแร[/*]
- ตำรับยาไทยใช้รากเป็นยารักษาอาการไข้ (ราก)[4][/*]
- ช่วยแก้หวัด แก้ไอ (เถา)[3],[4],[5][/*]
- เถาใช้ต้มรับประทานเป็นยาถ่ายเสมหะลงสู่ทวารหนัก แก้เสมหะพิการโดยไม่ทำให้ถ่ายอุจจาระ จึงเหมาะสำหรับผู้ที่เป็นโรคบิด โรคหวัด โรคไอ และใช้ได้ดีในเด็ก (เถา)[1],[2],[4],[11][/*]
- ช่วยแก้บิด (เถา)[3],[4],[5][/*]
- เถามีรสเฝื่อนเอียน ใช้ต้มรับประทานเป็นยาขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะผิดปกติ แก้ปัสสาวะกะปริดกะปรอย ส่วนรากมีรสเฝื่อนเอียนมีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะเช่นกัน (เถา, ราก)[1],[2],[3],[4],[14] และยังมีข้อมูลระบุว่าการใช้สมุนไพรชนิดนี้จะทำให้ปัสสาวะได้บ่อยกว่าปกติ จึงอาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยที่เป็นโรคต่อมลูกหมากโตด้ว[/*]
- เถาใช้ดองกับเหล้าเป็นยาขับระดูของสตรี (เถา)[8],[12][/*]
- คนโบราณจะนิยมใช้เถาของเถาวัลย์เปรียงเพื่อเป็นยารักษาอาการตกขาวของสตรี (อาการตกขาวชนิดที่ไม่มีกลิ่น ไม่มีอาการคัน ไม่เปลี่ยนเป็นสีเขียว) (เถา)[14][/*]
- เถามีสรรพคุณในการบีบมดลูก (เถา)[8][/*]
- ช่วยขับโลหิตเสียของสตรี ด้วยการใช้เถาวัลย์เปรียงทั้งห้าแบบสด ๆ นำมาต้มกับน้ำ แล้วนำน้ำที่ได้มาใช้ดื่มต่างน้ำ (ทั้งห้า)[6][/*]
- ช่วยทำให้มดลูกเข้าอู่ ด้วยการใช้เถาสดนำมาทุบให้ยุ่ย แล้ววางทาบลงบนหน้าท้อง แล้วนำหม้อเกลือที่ร้อนมานาบลงไปบนเถาวัลย์เปรียง จะช่วยทำให้มดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น (เถา)[6][/*]
- บางตำรากล่าวว่าเถามีสรรพคุณเป็นยาบำรุงกำลัง ทำให้มีกำลังดีแข็งแรงสู้ไม่ถอย (เถา)[5][/*]
- เถามีรสเฝื่อนเอียน ใช้ต้มรับประทานเป็นยาถ่ายเส้น ทำให้เส้นเอ็นอ่อนและหย่อนดี ช่วยรักษาเส้นเอ็นขอด เส้นเอ็นพิการ แก้อาการปวด ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเอว ปวดข้อ ข้ออักเสบ ช่วยรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม แก้อาการอักเสบของกล้ามเนื้อ หรือจะใช้เถานำมาหั่นตากแห้ง คั่วชงน้ำกินต่างน้ำชาเป็นยาทำให้เส้นหย่อน แก้อาการเมื่อยขบตามร่างกาย แก้อาการปวดเมื่อย แก้เหน็บชา (เถา)[1],[2],[3],[4],[5],[10][/*]
[/color][/*]- มีการใช้เถาเพื่อรักษาโรคอัมพฤกษ์และกระดูกหัก โดยการนำเถามาตำให้เป็นผงผสมกับน้ำ มันมะพร้าวหรือน้ำมันหัวครำ แล้วใช้เป็นยาทานวดบริเวณที่เป็นทุกวันจนหาย (เถา)[8]มะรุม ประโยชน์ของะรุม[list=1]
- [img width=200,height=150]https://medthai.com/wp-content/uploads/2013/07/Moringa-4.jpg[/img]ช่วยบำรุงผิวพรรณให้ชุ่มชื้น อ่อนนุ่ม ไม่ให้หยาบกร้าน[/*]
- มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระช่วยในการชะลอวัย (น้ำมันมะรุม)[/*]
- ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย[/*]
- ช่วยรักษาโรคขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิดถึงอายุ 10 ขวบ[/*]
- ช่วยลดไขมันและคอเลสเตอรอลในร่างกาย (ฝัก)[/*]
- มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็ง (ใบ, ดอก, ฝัก, เมล็ด, เปลือกของลำต้น)[/*]
- ช่วยรักษาโรคมะเร็งในกระดูก[/*]
- ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยรังสี การดื่มน้ำมะรุมจะช่วยให้อาการแพ้รังสีฟื้นตัวเร็วขึ้น[/*]
- ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตในร่างกาย[/*]
- ช่วยรักษาโรคโลหิตจาง[/*]
- มะรุมลดความดัน รักษาโรคความดันโลหิตสูง (ใบ, ฝัก)[/*]
- ใช้รักษาโรคหัวใจ (ราก)[/*]
- มะรุมลดน้ำตาล ช่วยรักษาโรคเบาหวานโดยรักษาความสมดุลของระดับน้ำตาล[/*]
- ใช้รักษาโรคหอบหืด (Asthma) (ยาง)[/*]
- ช่วยรักษาโรคภูมิแพ้[/*]
- ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคที่ต่ำลงของผู้ป่วยเอดส์[/*]
- ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย (ดอก)[/*]
- ช่วยบำรุงธาตุไฟ (ราก)[/*]
- ช่วยคุมธาตุอ่อน ๆ (เปลือกของลำต้น)[/*]
- แก้ลมอัมพาต (เปลือกของลำต้น)[/*]
- ใช้ขับน้ำตา (ดอก)[/*]
- ใช้บำรุงสุขภาพและรักษาดวงตาให้สมบูรณ์[/*]
- ช่วยรักษาโรคตาได้เกือบทุกโรค อย่างเช่น โรคตาต้อ ตามืดมัว เป็นต้น[/*]
- ช่วยรักษาโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ โรคโพรงจมูกอักเสบ[/*]
- น้ำมันมะรุมใช้นวดศีรษะ ฆ่าเชื้อราบนหนังศีรษะ แก้อาการคันหนังศีรษะ ลดผมร่วง (น้ำมันมะรุม)[/*]
- ช่วยแก้อาการปวดศีรษะ (ใบ, น้ำมันมะรุม)[/*]
- ใช้แก้ไข้และถอนพิษไข้ (ใบ, ยอดอ่อน, ฝัก, เมล็ด)[/*]
- ใช้แก้อาการไข้หัวลมหรืออาการไข้เปลี่ยนฤดู (ดอก)[/*]
- ช่วยบรรเทาและรักษาอาการหวัด (เมล็ดมะรุม)[/*]
- ช่วยบรรเทาอาการไอเรื้อรังให้ดีขึ้น (เมล็ดมะรุม)[/*]
- ช่วยบรรเทาอาการและลดสิวบนใบหน้า (น้ำมันมะรุม)[/*]
- ช่วยลดจุดด่างดำจากแสงแดด (น้ำมันมะรุม)[/*]
- [img width=250,height=188]https://medthai.com/wp-content/uploads/2013/07/Moringa-5.jpg[/img]ใช้รักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน (ใบ)[/*]
- ช่วยแก้อาการปวดฟัน (ยาง)[/*]
- ช่วยแก้อาการปวดหู (Earache) (ยาง)[/*]
- น้ำมันมะรุมใช้หยอดหูเพื่อป้องกันและฆ่าพยาธิในหู รักษาโรคหูน้ำหนวก เยื่อบุหูอักเสบ[/*]
- ช่วยรักษาโรคคอหอยพอกชนิดมีพิษ[/*]
- ช่วยรักษาแผลในปากหรือแผลจากโรคปากนกกระจอก[/*]
- นำเปลือกของลำต้นมาเคี้ยวกินเพื่อช่วยย่อยอาหาร (เปลือกของลำต้น)[/*]
- ช่วยขับลมในลำไส้ ทำให้ผายหรือเรอ (เปลือกของลำต้น)[/*]
- เปลือกของลำต้นมีสรรพคุณช่วยในการคุมกำเนิด (เปลือกของลำต้น)[/*]
- ช่วยบำรุงและรักษาปอดให้แข็งแรง และรักษาโรคปอดอักเสบ[/*]
- รับประทานเมล็ดมะรุมวันละ 1 เมล็ดก่อนนอน ช่วยให้การขับถ่ายในตอนเช้าเป็นไปอย่างปกติและสม่ำเสมอ (เมื่อขับถ่ายเป็นปกติแล้วควรหยุดรับประทาน)[/*]
- ใช้รักษาโรคลำไส้อักเสบ อาการท้องเสีย ท้องผูก[/*]
- ช่วยรักษาและขับพยาธิในลำไส้ (เมล็ดมะรุม)[/*]
- ช่วยในการขับปัสสาวะ (ใบ, ดอก)[/*]
- ช่วยแก้อาการอักเสบ (ใบ)[/*]
- ช่วยรักษาโรคไขข้อ (Rheumatism) (ราก)[/
GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์
|