กฎหมายและคดีอาวุธปืน

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายและคดีอาวุธปืน  (อ่าน 10 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
attorney285
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41755


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: ตุลาคม 22, 2018, 03:02:03 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

กฎหมายและคดีอาวุธปื

[/url]ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ https://www.attorney285.co.th/p/477
กฎหมายและคดีอาวุธปืน
ผู้แต่ง : สรารักษ์ สุวรรณศรี อาคม ศรียาภัย
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 2 : มีนาคม 2556
จำนวนหน้า: 416 หน้า
ขนาด : มาตราฐาน 18.5x26
รูปแบบ : ปกอ่อน

สารบัญ
 
บทที่ 1  ประวัติและเนื้อหาโดยสังเขป
1.ความนำ
2.โครงสร้างของพระราชบัญญัติอาวุธปืนๆ
3.ขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติอาวุธปืนๆ
3.1วัตถุหรือสิ่งที่พระราชบัญญัติอาวุธปืนๆ มุ่งใช้บังคับ
3.2การกระทำหรือกรณีที่พระราชบัญญัติอาวุธปืนๆ ประสงค์จะควบคุมและกำกับดูแล
3.2.1การทำ ซื้อ มี ใช้ สั่ง หรือนำเข้าอาวุธปืนหรือ เครื่องกระสุนปืนส่วนบุคคล(มาตรา 7 ) และการพาอาวุธปืนดังกล่าวติดตัว (มาตรา 8 ทวิ) ..4
3.2.2การทำ ประกอบ ซ่อมแซม เปลี่ยนลักษณะ สั่ง นำเข้า มีการจำหน่ายอาวุธปืนหรือ เครื่องกระสุนปืนสำหรับการค้า
3.2.3การทำ ซื้อ มี ใช้สั่ง นำเข้า ค้า หรือจำหน่ายด้วยประการใด ๆ ซึ่งวัตถุระเบิด (มาตรา 38)
3.2.4การทำ สั่ง นำเข้าหรือค้าดอกไม้เพลิง(มาตรา 47)
3.2.5การสั่ง นำเข้า หรือค้าสิ่งเทียบอาวุธปืน
3.2.6การโอนอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน หรือ วัตถุระเบิด(มาตรา 59)
3.2.7การตกทอดทางมรดก (มาตรา 64)
3.3บุคคลที่พระราชบัญญัติอาวุธปืนๆ มุ่งหมายจะควบคุมบังคับโดยเคร่งครัด
3.3.1กรณีมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนส่วนบุคคล
3.3.2กรณีมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนสำหรับการค้า
3.3.3กรณีวัตถุระเบิด
3.3.4กรณีดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียบอาวุธปืน
3.4กรณีที่ไม่นำพระราชบัญญัติอาวุธปืนๆมาใชบังคับ
4ฐานความผิดและบทกำหนดโทษ
 
 บทที่ 2ความหมายของอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน และวัตถุระเบิด
1.ความหมายอาวุธปืน
1.1อาวุธปืน
1.2อาวุธทุกชนิด ซึ่งใช้สำหรับส่งเครื่องกระสุนปืนๆ
1.3ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาวุธ
2.ความหมายเครื่องกระสุนปืน
2.1กระสุนโดด กระสุนปราย กระสุนแตก ลูกระเบิด ตอร์ปิโด ทุ่นระเบิด จรวด
2.2เครื่องหรือสิ่งสำหรับอัดหรือทำหรือใช้ประกอบเครื่องกระสุนปืน
3.ความหมายวัตถุระเบิด
3.1วัตถุที่สามารถส่งกำลังดันเมื่อเกิดระเบิดหรือโดย การสลายตัวของวัตถุระเบิดทำให้เกิดแรงทำลายหรือแรงประหาร
3.2เชื้อประทุ หรือวัตถุอื่นใดอันสภาพคล้ายคลึงกัน
 
บทที่ 3 ความผิดฐานมีอาวุธปืนหรือเครื่องกระสุนปืนไว้ในครอบครอง
1.มีอาวุธ
1.1ความหมายของการมี
1.1.1มีกรรมสิทธิ์
1.1.2มีไว้ในครอบครอง
(ก) มีการยึดถึง
(ข)เจตนายึดถือเพื่อตน
1.1.3 ข้อยกเว้น
1.2โดยไม่ได้รับใบอนุญาต
1.3ประเภทและชนิดของอาวุธปืน
1.3.1อาวุธปืนไม่มีทะเบียน
1.3.2อาวุธปืนมีทะเบียนของผู้อื่น
2.มีเครื่องกระสุนปืน
2.1ประเภทและชนิดของเครื่องกระสุนปืน
2.2มีเฉพาะเครื่องกระสุนปืน
2.3มีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืน
2.3.1มีกระสุนปืนสำหรับใช้กับอาวุธปืนที่ตนได้รับใบอนุญาต
2.3.2มีกระสุนปืนที่มิใช่สำหรับใช้กับอาวุะปืนที่ตนได้รับใบอนุญาต
3.มีเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของอาวุธปืน
4.มีอาวุธปืนหรือเครื่องกระสุนปืนสำหรับการค้า
บทที่ 5ความผิดฐานพาอาวุธปืนติดตัวโดยไม่ได้รับใบอนุญาต
1.พาอาวุธปืนติดตัวไปในเมือง หมู่บ้าน หรือทางสาธารณะ
1.1เป็นอาวุธปืน
1.2พาติดตัวไป
1.3พาไปในเมือง หมู่บ้าน หรือทางสาธารณะ
1.4โดยไม่ได้รับใบอนุญาตไห้มีอาวุธปืนติดตัว
2.พาอาวุธปืนไปโดยเปิดเผย หรือพาไปในชุมชน
 
บทที่ 5 ข้อยกเว้นความรับผิดฐานมีอาวุธปืนๆ และพาอาวุธปืนโดยไม่ได้รับใบอนุญาต
1.ข้อยกเว้นความรับผิดฐานมีอาวุธปืนๆไว้มนครอบครอง
1.1อาวุธปืนๆของราชการทหารและตำรวจ
1.2อาวุธปืนๆของหน่วยงานราชการ
1.3อาวุธปืนๆของหน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
1.4อาวุธปืนๆที่ราชการหรือหน่วยราชการมอบให้ประชาชนมีและใช้
1.5อาวุธปืนๆประจำเรือทะเล
1.6ดอกไม้เพลิงสัญญาณประจำเรือเดินทะเลๆ
2.ข้อยกเว้นความรับผิดชอบฐานพาอาวุธติดตัว
2.1กรณีมีเหตุจำเป็นและเร่งด่วนตามสมควรแก่พฤติการณ์
2.2กรณีที่กฎหมายกำหนดไว้ตามมาตรา 8 ทวิ 
วรรคสาม
 
บทที่ 6 ความผิดฐานมีวัตถุระ้บิดไว้ไนครอบครอง
1.ความหมายวัตถุระเบิด
2.ความผิดฐานมีวัตถุระเบิด
 
บทที่ 7ความผิดฐานมีและใช้อาวุธปืน  เครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิดที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้
1.ความผิดฐานมีอาวุธปืน  เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิดที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้
1.1ความหมายของคำว่า  "มี"
1.2อาวุธปืน  เครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิดที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้
2.ความผิดฐานมีอาวุธปืน  เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิดที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้
 
บทที่ 8 การร่วมกระทำความผิดในคดีอาวุธปืนๆ
พฤติการณ์ที่ถือว่าเป็นตัวการ
พฤติการณ์ที่ถือว่าไม่ได้ว่าเป็นตัวการ
พฤติการณ์ที่ถือว่าไม่ได้ว่าเป็นตัวการมีลูกระเบิด
 
บทที่ 9 ปัญหาว่าคดีอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืนและวัตถุระเบิดเป็นกรรมเดียวหรือหลายกรรม
1.การกระทำที่เป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายบทเดียว
2.การกระทำที่เป็นกรรมเดียวอันเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท
3.การกระทำที่เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน
 
บทที่ 10 การฟ้องและการนำสืบในคดีอาวุธปืนๆ
1.การฟ้องคดีอาวุธปืนๆ
1.1การบรรยายฟ้องข้อหามีอาวุธปืนไม่มีทะเบียน
1.2การบรรยายฟ้องข้อหาพาอาวุธปืนๆ
1.3การบรรยายฟ้องข้อหาทำๆ อาวุธปืนๆ สำหรับการค้า
1.4การบรรยายฟ้องข้อหามีหรือใช้เครื่องกระสุนปืนๆ ที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้
1.5การบรรยายฟ้องข้อหาพาอาวุธตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 371
1.6การบรรยายฟ้องข้อหายิงปืนโดยใช้เหตุผลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 376
1.7ผู้เสียหายในคดีอาวุธปืน
1.8ข้อเท็จจริงที่จะนำมาใช้ลงโทษจำเลย ต้องกล่าวมาในคำฟ้อง
2.การสืบคดีอาวุธปืนๆ
2.1โจทก์ไม่นำสืบหรือนำสืบฟังไม่ได้เกี่ยวกับอาวุธปืนๆ
2.2โจทก์นำสืบได้ว่ามีการใช้อาวุธปืนกระทำผิดและจำเลยไม่ได้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืน
(ก) ฟ้องว่าเป็นอาวุธปืนไม่มีทะเบียน
(ข)ฟ้องเพียงว่ามีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต
2.3กรณีได้อาวุธปืนเป็นของกลาง แต่โจทก์นำสืบไม่ชัดเจน
2.4กรณีจำเลยรับสารภาพแต่ข้อเท็จจริงยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยกระทำผิด
บทที่ 11 ปัญหาเกี่ยวกับการริบอาวุธปืนๆ ของกลาง
1.การริบทรัพสินตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32
1.1กรณีที่ถือว่าเป็นทรัพสินที่ทำหรือมีไว้เป็นความผิด
1.2กรณีที่ถือไม่ได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่ทำหรือมีไว้เป็นความผิด
2.การริบทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 
2.1กรณีที่เป้นทรัพย์สินซึ่งได้ใช้ในการกระทำความผิด
2.2กรณีที่ถือไม่ได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่ได้ใช้ในการการทำความผิด
3.อำนาจศาลในการสั่งริบ
3.1ทรัพย์สินที่ทำหรือมีไว้เป็นความผิด
3.2ทรัพย์สินที่ได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้หรือได้มาโดยได้กระทำความผิดเป็นดุลพินิจของศาลในการสั่งริบ
 
ภาคผนวก
1.พระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิดดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียบอาวุธปืน พ.ศ.2490
2.กฎกระทรวง(พ.ศ.2490)
3.กฎกระทรวง ฉบับที่ 2  (พ.ศ.2490)
4.กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2491)
5.กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2492)
6.กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2496)
7.กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2501)
8.กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2501)
9.กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2512)
10.กฎกระทรวง ฉบับที่9  (พ.ศ.2522)
11.กฎกระทรวง ฉบับที่10  (พ.ศ.2522)
12.กฎกระทรวง ฉบับที่11  (พ.ศ.2522)
13.กฎกระทรวง ฉบับที่12  (พ.ศ.2524)
14.กฎกระทรวง ฉบับที่13  (พ.ศ.2525)
15.กฎกระทรวง ฉบับที่14  (พ.ศ.2538)
16.กฎกระทรวง ฉบับที่15  (พ.ศ.2545)
17.กฎกระทรวง ฉบับที่16  (พ.ศ.2547)
18.กฎกระทรวง ฉบับที่17  (พ.ศ.2550)
19.กฎกระทรวง ฉบับที่18  (พ.ศ.2552)
20.กฎกระทรวง ฉบับที่  (พ.ศ.2553)
21.ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องแต่งตั้งนายทะเบียนๆ (พ.ศ.2548)

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "[url]https://www.attorney285.co.th/category/56[/url]​
*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ