ป้ายไฟทางออกฉุกเฉิน, จำหน่ายอุปกรณ์ดับเพลิง, จำหน่ายสายส่งน้ำดับเพลิง, บิ๊ก ที เซฟ (ประเทศไ??

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ป้ายไฟทางออกฉุกเฉิน, จำหน่ายอุปกรณ์ดับเพลิง, จำหน่ายสายส่งน้ำดับเพลิง, บิ๊ก ที เซฟ (ประเทศไ??  (อ่าน 4 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
mossade4T
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2653


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: พฤศจิกายน 21, 2018, 09:50:22 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement



ป้ายไฟทางออกฉุกเฉิน (Exit Sign Light)
เป็นสิ่งจำเป็นที่ทุกอาคารต้องติดตั้ง เผื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ ไฟดับ ผู้อยู่ในอาคาร จะได้อพยพหนีภัยออกจากอาคารได้อย่างปลอดภัย มาตรฐาน วสท. 2004 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและป้ายไฟทางออกฉุกเฉิน กำหนดให้หากเกิดกรณีไฟดับแล้วอาคารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโรงงาน สำนักงาน ศูนย์การค้า โรงแรม โรงพยาบาล โรงเรียน สถานบันเทิง ร้านอาหาร คอนโดฯ ต้องติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ที่ให้ระดับความส่องสว่างที่พื้นกึ่งกลางทางหนีไฟไม่น้อยกว่า 1 ลักซ์ เพื่อให้ผู้อยู่ในอาคาร สามารถอพยพหนีภัยออกจากอาคารได้อย่างปลอดภัย หากเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ ไฟดับ ซึ่งเป็นความปลอดภัยขั้นต่ำของอาคารตามกฎหมาย (กฎหมายปัจจุบัน เช่น กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555) และยังได้กำหนดให้ต้องติดตั้งป้ายไฟทางออกฉุกเฉินที่เหนือประตูทางออก และตลอดเส้นทางหนีไฟ โดยใช้รูปสัญลักษณ์คนก้าวขาผ่านประตูพร้อมกับลูกศร ซึ่งเป็นสัญลักษณ์รูปภาพตามมาตรฐานสากล ISO อันจะเป็นสัญลักษณ์ที่คนทุกชาติ ทุกภาษาเห็นรูปภาพแล้วจะเข้าใจได้ตรงกันว่านี่คือป้ายบอกทางออก หรือบางคนเรียกว่า ป้ายบอกทางหนีไฟ โดยมาตรฐานกำหนดการติดตั้งป้ายไฟทางออกฉุกเฉิน ที่เส้นทางเดินหรือเส้นทางหนีไฟ ไว้ว่า หากสัญลักษณ์รูปภาพใหญ่ขนาดสูง 10ซม.

จุดประสงค์การใช้ทำงานไฟฉุกเฉิน คือ ใช้เป็นเครื่องมือให้แสงสว่างในกรณีที่ไฟฟ้าดับโดยเครื่องจะส่องสว่างอัตโนมัติ เพื่อให้หน่วยงานมีแสงสว่างในเวลากลางคืน

หลักการทำงานของป้ายไฟทางออกฉุกเฉิน
คือ เป็นอุปกรณ์ที่เก็บพลังงานไฟฟ้าไว้ในแบตเตอรี่ ซึ่งแบตเตอรี่จะเป็นชนิดแห้งไม่ต้องเติมน้ำกลั่น และเมื่อไฟฟ้าดับจะใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ไป On หน้า Contact ของ Relay และจะทำให้หลอดไฟสว่างเมื่อมีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้ไฟฉุกเฉินก็จะมีวงจรลดแรงดันไฟฟ้า และแปลงกระแสไฟฟ้าให้เป็นกระแส DC เพื่อประจุให้แบตเตอรี่และมีวงจร Off หน้า Contact relay เพื่อไม่ให้หลอดไฟสว่าง

การบำรุงรักษาป้ายไฟฉุกเฉิน

• ทำความสะอาดดวงโคม ทุก 2 สัปดาห์
• ตรวจสอบระดับน้ำกลั่น เติมน้ำกลั่น ทุก 1 เดือน
• ทดสอบการทำงานของเครื่อง test เครื่อง ทุก ๆ 1 เดือน
• คายประจุแบตเตอรี่ให้หมด ทุก ๆ 6 เดือน

ข้อควรระวังในการใช้งานป้ายไฟฉุกเฉิน

1. ไม่ควรติดตั้งไฟฉุกเฉินชนิดแบตเตอรี่แบบเติมน้ำกลั่น ไว้บริเวณที่มีอากาศถ่ายเทไม่ดีเพราะจะทำ ให้ไอตะกั่วระเหยกระจายในอากาศ เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ
2. การติดตั้งไฟฉุกเฉิน ต้องมั่นคงแข็งแรง เพราะแบตเตอรี่จะมีน้ำหนักมากอาจจะร่วงหล่นเป็นอันตรายได้
3. ควรเสียบปลั๊กไฟฟ้าเพื่อประจุไฟฟ้าให้แบตเตอรี่เต็มอยู่เสมอ พร้อมใช้งานตลอดเวลาเมื่อไฟฟ้าปกติดับ

นี่คือภาพโฆษณาในหนังสือ Thailand Pocket Pages 2018
ท่านสามารถติดต่อขอรับหนังสือได้ที่สำนักงาน
หรือ ดาวน์โหลด E-book ได้ที่นี่ >>>Click<<<


ห้างหุ้นส่วนจำกัด บิ๊ก ที เซฟ (ประเทศไทย)
• จำหน่ายอุปกรณ์ดับเพล



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ