Advertisement
p1
กล้องสำรวจพื้นที่ดิน ภาคสนาม ถนน TOPCON บริการ กล้องระดับใช้วัดมุม มือหนึ่ง TOTAL STATION
จำหน่ายกล้องอุปกร
งานสำรวจสะพาน/อุโมงค์ทางแยก งานสำรวจวางแนวศูนย์กลางสะพาน-อุโมงค์
งานสำรวจภูมิประเทศ ดำเนินงานสำรวจวางแนวศูนย์กลางทาง ปักหมุด PC PT POT PI ตามแนวออกแบบ สะพาน อุโมงค์
งานสำรวจระบบขนส่งมวลชน งานสำรวจภูมิประเทศและระดับตามแนวทาง
งานสำรวจภูมิประเทศ ดำเนินงานสำรวจภาคสนามด้วยกล้องวัดมุม-กล้องระดับตามแนวทาง เพื่อเป็นรายละเอียดภูมิประเทศ เช่น ถนน อาคาร สาธารณูปโภค เสาไฟฟ้า ท่อประปา ท่อระบายน้ำ ต้นไม้ใหญ่ เป็นต้น โดยสำรวจเป็นวงรอบปิด พร้อมเก็บระดับรูปตัดตามยาวแนวศูนย์กลางทาง ซ้าย-ขวา เก็บระดับรูปตัดขวาง เพื่อนำข้อมูลมาเขียนแผนที่ แปลน โปรไฟร์ มาตราส่วน 1:1,000 , 1:500 เพื่อใช้ในงานออกแบบรายละเอียดก่อสร้าง
หลักการสำรวจดิน (Basic of soil survey)การสำรวจดินเป็นการสำรวจdataทางดิน ในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง การบันทึกจะทำไว้ในรูปของแผนที่ดินพร้อมด้วยรายงาน การสำรวจดิน ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจดินเหล่านี้จะถูกนำไปใช้ในกิจกรรมสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดินโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกษตรกรรม
การสำรวจดินเป็นงานที่ต้องอาศัยหลักวิชาการหลายแขนง ทั้งทางด้านปฐพีวิทยาธรณีวิทยา และภูมิศาสตร์เนื่องจากหลักวิชาการเหล่านี้จะช่วยในการจำแนกชนิดของดินออก เป็นดินในแต่ละหน่วยแผนที่ดินได้ ข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการสำรวจและจัดทำแผนที่ดินคือ ชนิดของแร่ที่เป็นองค์ประกอบของดินตลอดจนข้อมูลสภาพแวดล้อมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดดิน เช่น ลักษณะทางภูมิอากาศ สภาพพืชพรรณที่ขึ้นอยู่บนดินนั้น เป็นต้น
ประโยชน์ของการสำรวจดิน
ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจดินซึ่งได้บันทึกไว้ในรูปของแผนที่ดินและรายงานการสำรวจ ดินนั้นมีประโยชน์ต่องานในหลายสาขา พอสรุปได้ดังนี้คือ
3) ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางโครงการการใช้ที่ดิน(Land use planning)
4) ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการพัฒนาด้านชลประทาน
ตัวอย่างดินคงสภาพ (Undisturbed Sample)
1. นำตัวอย่างดินคงสภาพซึ่งอาจจะหุ้มไว้ด้วยพาราฟิน หรือ เพิ่งเอาออกจากกระบอกเก็บ
แต่ขนาดอื่นๆ ก็อาจจะใช้ได้ โดยที่ความสูงของตัวอย่างจะต้องมากกว่า 2 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง ทั้งนี้เพื่อให้รอยเฉือน (Failure Plane) ไม่อยู่ในส่วนของผิวบนหรือผิวล่างของตัวอย่าง ซึ่งจะทำให้มีความฝืดบนส่วนนั้นเกิดขึ้นในระหว่างการทดลอง และค่า Fv จะมากกว่าปกติ การตัดแต่งจะต้องกระทำด้วยความระมัดระวังโดยใช้เลื่อยเส้นลวด และเครื่องตัดแต่งตัวอย่างดิน
วิธีการสำรวจดิน (Soil survey procedures)เมื่อทราบชนิดวัตถุประสงค์ และระดับของการสำรวจดินแล้ว ก่อนออกไปสำรวจดินจริงๆ
ในภาคสนามนักสำรวจดินจำเป็นจะต้องมีการวางแผนในที่ทำงานก่อนว่าจะต้องใช้วิธีการ
สำรวจอย่างไร มีการศึกษาข้อมูลอื่น ๆ ช่วยประกอบในการสำรวจ เช่น สภาพทางธรณี ระบบการระบายน้ำ สภาพพืชพรรณและอื่น ๆ จะต้องมีการเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา และสำรวจดินที่สำคัญ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
4) เครื่องมือที่ใช้สำรวจดินในภาคสนาม เช่น เข็มทิศ เครื่องเขียนแผนที่ พลั่ว จอบ
สำหรับวิธีการเจาะสำรวจดิน ในสนามนั้นส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับมาตราส่วน และรายละเอียดของดินที่ทำ
SOKKIA B20 กำลังขยาย 32เท่า
Grid survey .
การเจาะสำรวจแบบนี้จะใช้ในวัตถุประสงค์ที่เฉพาะที่ต้องการรายละเอียดมากและเป็นแผนที่ขนาดมาตราส่วนใหญ่ หลุมเจาะจะทำเป็นแบบกริดที่มีตำแหน่งแน่นอน จำนวนหลุมเจาะขึ้นอยู่กับมาตราส่วนแผนที่และวัตถุประสงค์ของการสำรวจปกติแล้ว จะเจาะประมาณ 4-9 หลุม ต่อ 6 ไร่ สำหรับแผนที่มาตราส่วน 1:10,000(เจาะ 4-9หลุมต่อ พื้นที่สำรวจ ในแผนที่1ตารางเซนติเมตร)ขอบเขตของหน่วยแผนที่ดินจะลากเชื่อมโยงแบ่งดิน ที่มีลักษณะแตกต่างกัน ออกจากกัน
Grid survey นี้เสียค่าใช้จ่ายสูงเสียเวลาในการสำรวจมากและค่าใช้จ่ายนี้จะเพิ่มขึ้น ตามมาตราส่วนของแผนที่ แต่ข้อมูลที่ได้จะถูกต้องมีความแม่นยำสูง
พ.ร.บ. การขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 มาตราที่ 17-25 :: หมวด 2 การขุดดิน
มาตรา 17 ผู้ใดประสงค์จะทำการขุดดินโดยมีความลึกจากระดับพื้นดินเกิน สามเมตรหรือมีพื้นที่ปากบ่อดินเกินหนึ่งหมื่นตารางเมตร หรือมีความลึกหรือพื้นที่ตามที่ เจ้าพนักงานท้องถิ่นประกาศกำหนด ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามแบบที่เจ้าพนักงาน ท้องถิ่นกำหนดโดยยื่นเอกสารแจ้งข้อมูล ดังต่อไปนี้
(1) แผนผังบริเวณที่ประสงค์จะทำการขุดดิน
(2) แผนผังแสดงเขตที่ดินและที่ดินบริเวณข้างเคียง
มาตรา 22 การได้รับใบรับแจ้งจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นตาม มาตรา 17 ไม่เป็นเหตุคุ้มครองการขุดดินที่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลหรือ ต่อสภาพแวดล้อมผู้ขุดดินไม่ว่าจะเป็นเจ้าของที่ดิน ผู้ครอบครองที่ดิน ลูกจ้างหรือตัวแทน ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น เว้นแต่จะมีเหตุที่ไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
มาตรา 23 การขุดบ่อน้ำใช้ที่มีพื้นที่ปากบ่อไม่เกินสี่ตารางเมตร ผู้ขุดดินไม่ต้อง แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น
กล้องวัดมุมดิจิตอล ยี่ห้อ Leica T.O.2
การปรับปรุงบำรุงดิน โดยวิธีธรรมชาติ
(Natural ways for Soil Improvement)
ลักษณะ ของดิน ดิน ที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกนั้น จะต้องประกอบด้วยสมบัติ 3 ประการ
1. สมบัติทางเคมี คือ ดินต้องมีความสมดุล ของแร่ธาตุอาหารพืช ซึ่งประกอบด้วย ธาตุอาหารพืชหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี่ยม ธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย แมกนีเซียม ธาตุอาหารเสริมประกอบด้วย สังกะสีโมลิบดินัมแมงกานีส}คลอรีน} และ มีปฏิกิริยา ของดิน ที่เป็นกลาง คือดินต้องไม่เป็นกรดเป็นด่างหรือมีความเค็มจนเกินไป
2. สมบัติทางกายภาพ คือ ดินต้องมีความสมดุล ของอากาศ และ น้ำ กล่าวคือ ดินต้องมีโครงสร้างที่ดี อากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อช่วยให้รากพืชสามารถแผ่ขยาย และ ชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารพืชได้ง่าย ในระยะที่กว้าง และ ไกล เป็นดิน ที่อ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง
3. สมบัติทางชีวภาพ คือ เป็นดิน ที่มีความสมดุล ของจุลินทรีย์ กล่าวคือ เป็นดิน ที่มีจุลินทรีย์ และ สิ่ง ที่มีชีวิตเล็กๆ ในดิน ที่เป็นประโยชน์ ในปริมาณมาก ซึ่งสามารถควบคุมจุลินทรีย์ และ สิ่ง ที่มีชีวิตเล็กๆ ในดิน ที่เป็นโทษ แก่พืชได้เป็น อย่างดี และ จุลินทรีย์ ที่เป็นประโยชน์ ในดิน สามารถสร้างกิจกรรมต่างๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่พืชได้ดี เช่น เสริมสร้างพลังให้ แก่พืช และ ทำลายสารพิษ ในดินได้
เมื่อนักสำรวจดินเสร็จการตรวจสอบดินในภาคสนามแล้ว ข้อมูลต่าง ๆที่ถูกบันทึกไว้ จะต้องนำมาเขียนเป็นรายงานการสำรวจดิน เพื่อเสนอข้อมูลดินต่างๆที่ได้สำรวจต่อผู้ใช้ ประโยชน์ต่อไป โดยทั่วไปแล้วการเสนอข้อมูลจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบดังนี้ คือ
2) รายงานการสำรวจดิน
ขั้นตอนสุดท้ายของการสำรวจดินคือการจัดทำรายงานสำรวจดินซึ่งเป็นรายงานที่เกี่ยวกับ การรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการสำรวจดินในภาคสนามรวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการแปลความหมายของข้อมูลดิน เพื่อการใช้ประโยชน์ของผู้ใช้รายงานการสำรวจดินเหล่านี้โดยทั่วไปแล้วรายงานการสำรวจดินจะประกอบไปด้วยข้อมูลที่สำคัญดังต่อไปนี้
2.2) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริเวณที่สำรวจ เช่น ที่ตั้งและอาณาเขตของพื้นที่สำรวจสภาพ ภูมิประเทศและธรณีวิทยาทั่วไป ลักษณะภูมิประเทศ แหล่งน้ำ พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ ที่ดินทั่วไป ประชากรความเป็นอยู่และอาชีพ การคมนาคม การตลาดและเศรษฐกิจทั่วไป
กระบวนการสร้างดิน ( Soil formation process )กระบวนการสร้างดินนั้น มักจะดำเนินไปพร้อมๆ กันหรือกระทำร่วมกันเสมอ ทำให้มี การพัฒนา และสร้างดินขึ้นกระบวนการสร้างดินต่างๆนี้ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นต่อเนื่องจาก การสลายตัวผุพังของหินและแร่หรือวัตถุต้นกำเนิดดินหรือเกิดต่อเนื่องเป็นการเปลี่ยนแปลง ของวัตถุต้นกำเนิดอื่นเช่นวัตถุต้นกำเนิดดินที่ได้มาจากการพัดพาของน้ำ
Buol et. al. (1989) ได้กล่าวถึงการสร้างดินว่าเป็นผลที่ได้จากการกระทำร่วมกันของ 4 กระบวนการใหญ่ๆซึ่งถือได้ว่าเป็น 4กระบวนการหลักที่ใช้ในการศึกษาถึงการสร้างตัวของดิน
2) การเคลื่อนย้ายออกจากดิน (Losses from a soil body)
เป็นกระบวนการทีเกี่ยวข้องกับการสูญเสียวัสดุแร่ธาตุหรือสารประกอบต่างๆ ออกไปจากหน้าตัดดิน เช่น การละลายของสารประกอบหรือแร่ธาตุออกไปจากดินโดยน้ำเป็นตัวทำละลาย การสูญเสียจากการเกิด erosion การสูญเสียเนื่องจากการเก็บเกี่ยวพืชออกไปจากดิน การสูญเสียคาร์บอนในรูปของ CO2ตลอดจนการสูญเสียธาตุ N จากกระบวนการdenitrification
สินค้าประเภทอุปกรณ์ประกอบเครื่องมือสำรวจชนิดต่างๆ Surveying Accessories เช่น ชุดเป้าปริซึม , แบตเตอรี่ , เครื่องชาร์จไฟ , เข็มทิศสำรวจ เป็นต้น
กล้องวัดมCustomer Online Service: เรามีเจ้าหน้าที่ คอยดูแลทุกรายการการสั่งซื้อสินค้าของลูกค้า มั่นใจว่าจะได้รับสินค้าครบถ้วน ถูกต้องตรงตามการสั่งซื้อ พร้อมทั้งมีบริการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้งาน และแนะนำเกี่ยวกับสินค้า
ช่องติดต่ออื่นของเรา
***ให้จัดส่งด่วนภายใน 6ชั่วโมง/1วัน เขตพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล และต่างจังหวัดส่งถึงมือลูกค้าภายใน 1 วันทำการไปรษณีย์ไทย**
*** ลูกค้าสามารถเปิดหาแผนที่ google map นำทางมาที่ร้านได้ โดยพิมพ์คำว่า "p1 กล้องสำรวจ"
ที่มา : [url=http://www.p1instrument.com/][url]http://www.p1instrument.com/[/url]
Tags : กล้องวัดมุมมือสอง,กล้อง Total Station,ขายกล้องสำรวจ