การศึกษากระชายดำทางเภสัชวิทยาและข้อแนะนำควรระวังที่ท่านควรรู้

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: การศึกษากระชายดำทางเภสัชวิทยาและข้อแนะนำควรระวังที่ท่านควรรู้  (อ่าน 133 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: พฤษภาคม 12, 2017, 08:35:39 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement


การศึกษากกระชายดำทางเภสัชวิทยา 

  • ฤทธิ์กระชายดำต้านอักเสบ สาร 5,7 – ได้เมธอกซีฟลาโวน (5,7-DMF) ที่แยกได้จากหัวกระชายดำ มีฤทธิ์ต่อต้านการอักเสบเทียบได้กับยามาตรฐานหลายชนิด คือ แอสไพริน , อินโดเมธาซิน , ไฮไดรคอร์ติโซน และเพรดนิโซโลน จากการวิจัยฤทธิ์ต่อต้านอักเสบของสารนี้ ในสัตว์ทดลองด้วยวิธีการต่าง ๆ พบว่าสาร 5,7-DMF สามารถต่อต้านการอักเสบแบบเฉียบพลันได้ดีกว่าแบบเรื้อรัง โดยแสดงฤทธิ์หยุดการบวมของอุ้งเท้าหนูขาวจากสารคาราจีนแนน และเคโอลินได้ดีกว่าฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง granuloma จากการฝังสำลีใต้ผิวหนัง นอกจากนี้ พบว่า สาร 5,7-DMF มีฤทธิ์ยับยั้งการเกิด exudation และการสร้างสาร prostaglandin อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อศึกษาฤทธิ์ต่อต้านการอักเสบในช่องปอดของหนูขาว (rat pleurisy) (วงศ์วิวัฒน์ ทัศนียกุล และอำไพ ปั้นทอง,2528)
  • ฤทธิ์กระชายดำเชื้อdit=kpfeต่อต้านจุลินทรีย์ สาร 5,7,4'-trimethoxyflavone และ 5,7,3' ,4' –tetramethoxyflavone แสดงฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ Plasmodium falciparum ที่เป็นสาเหตุของโรคมาลาเรีย ส่วนสาร 3,5,7,4'-tetramethoxyflavone และ 5,7,4'-trimethoxyflavone แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อ Candida albicans และแสดงฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ Mycobacterium อย่างอ่อน (Wattanapitayakui S, Nawinprasert A, Herunsalee A, et al,2003)
  • พิษต่อเซลล์มะเร็ง (cytotoxic activity) จากการทดลองผลของฟลาโวนอยด์ 9 ชนิดของกระชายดำต่อเซลล์มะเร็ง เช่น KB , BC หรือ NCI-H187 ไม่พบว่ามีสารใดทำให้เกิดพิษต่อเซลล์มะเร็งที่ทดสอบ (วงศ์วิวัฒน์ ทัศนียกุล และอำไพ ปั้นทอง,2528)
  • ฤทธิ์ขยายหลอดเลือดแดง มีรายงานการวิจัยว่า สารสกัดด้วยเอธานอลของกระชายดำมีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดแดงใหญ่ (aorta) และลดการหดเกร็งของ ลำไส้เล็กส่วนปลาย (ileum) ของหนูขาว และยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือดของคน.(Yenchai C, Prasaphen K, Doodee S, et al,2004)
ข้อแนะนำ / ข้อควรระวัง 

  • กระชายดำสามารถรับประทานได้ทั้งหญิง และชายโดยไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงใด ๆ ยิ่งสำหรับผู้สูงอายุก็พบว่านิยมใช้กันมานานมากแล้ว
  • ผลข้างเคียงของกระชายดำ การรับประทานในขนาด เยอะ อาจทำให้เกิดอาการใจสั่นได้
  • ห้ามใช้กระชายดำในเด็ก และในผู้ป่วยที่เป็นโรคตับ
  • การรับประทานหัวกระชายดำติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้เหงือกร่น
  • แม้จะมีงานวิจัยในสัตว์ทดลองที่ระบุว่ากระชายดำไม่พบว่ามีความเป็นพิษ แต่ยังไม่มีรายงานการศึกษาวิจัยเพื่อประเมินประสิทธิผล ของการใช้กระชายดำในคนจึงควรรับประทานในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อความปลอดภัย

 

Tags : การขยายพันธุ์กระชายดำ,เหง้ากระชายดำ



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า

watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: มิถุนายน 22, 2017, 11:40:50 am »

ความรู้ที่หน้าสนใจเกี่ยวกับการศึกษาประโยชน์ทางด้านต่างๆของกระชายดำ

บันทึกการเข้า

watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: มิถุนายน 25, 2017, 03:56:32 pm »

ความรู้ด้านเภสัชวิทยาของกระชายดำที่น่าสนใจเกี่ยวกับประโยชน์มากมาย

บันทึกการเข้า

watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: กรกฎาคม 01, 2017, 11:23:34 am »


ความรู้เกี่ยวกับกระชายดำประโยชน์มากมายควรหน้าศึกษาไว้

บันทึกการเข้า

หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ