การศึกษาทางเภสัชวิทยาขมิ้นชัน

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: การศึกษาทางเภสัชวิทยาขมิ้นชัน  (อ่าน 39 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2017, 09:25:51 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement


         
  มีฤทธิ์ขับลม ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ กระตุ้นการหลั่งสารเมือกมาเคลือบ และยับยั้งการหลั่งน้ำย่อยต่างๆ สมานแผลในกระเพาะอาหาร ต้านการอักเสบของลำไส้ใหญ่ ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อบิดมีตัว ฆ่าพยาธิ ต้านเชื้อ Helicobacter pylori ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ขับน้ำดี แก้ท้องอืด  ท้องเฟ้อ  ขับลม  รักษาอาการอุจจาระร่วง ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด คลายกล้ามเนื้อเรียบของลำไส้และมดลูก ป้องกันการเกิดมะเร็งและต้านมะเร็ง ปกป้องตับ ต้านออกซิเดชั่น มีฤทธิ์ต้านการเกิดโรคความจำเสื่อม โดยมีผลป้องกันการถูกทำลายของเซลล์สมอง
 
 การศึกษาทางคลินิกขมิ้นชัน
         
  เยียวยาอาการท้องเสีย  อาการแน่นจุกเสียด อาหารไม่ย่อย และลดกรด รักษาแผลในทางเดินอาหาร คลายอาการปวดท้องเนื่องจากกระเพาะอาหารเป็นแผลได้ ลดการบีบตัวของลำไส้รักษาสิว
           รักษาอาการข้อเข่าอักเสบ เมื่อใช้สารสกัดวันละ 2 กรัม นาน 6 สัปดาห์ ในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมอักเสบชนิดไม่ทราบสาเหตุ  สามารถลดความเจ็บปวดเมื่อเดินบนพื้นราบ และเมื่อขึ้นลงบันได โดยมีประสิทธิผล และความปลอดภัยเท่ากับยาไอบิวโพรเฟน
 
การศึกษาทางพิษวิทยา:
         
   การค้นคว้าพิษเฉียบพลันของเหง้าขมิ้นชันในหนูถีบจักร พบว่าหนูที่ได้รับผงขมิ้นขันทางปากในขนาด 10 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่แสดงอาการพิษ และเมื่อให้สารสกัดของเหง้าขมิ้นชันด้วย 50%แอลกอฮอล์ โดยวิธีป้อนทางปาก ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง และทางช่องท้องในขนาด 15 กิโลกรัมพบว่าไม่ทำให้เกิดอาการพิษเฉียบพลันและหนูถีบจักรไม่ตาย ขนาดของสารสกัดทำให้หนูตายครึ่งหนึ่ง (LD50) เมื่อให้โดยวิธีดังกล่าว จึงมีค่ามากกว่า 15 กิโลกรัม
 
 ข้อควรระวัง:       
       

  • การใช้ขมิ้นเป็นยา

เยียวยาโรคกระเพาะ  ถ้าใช้ขนาดสูงเกินไป  จะทำให้เกิดแผลในกระเพาะ
            2. คนไข้บางคนอาจมีอาการแพ้ขมิ้น  โดยมีอาการคลื่นไส้  ท้องเสีย  ปวดหัว  นอนไม่หลับ  ให้หยุดยา
            3. ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีการอุดตันของท่อน้ำดี เช่น นิ่วในถุงน้ำดี และห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์

  • ควรระมัดระวังในการใช้ร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือด เนื่องจากเสริมฤทธิ์กัน อาจทำให้เลือดแข็งตัวช้า และเลือดไหลหยุดยากได้

องค์ประกอบทางเคมี:
       
 
     สารกลุ่มเคอร์คิวมินนอยด์ (curcuminoids) ประกอบด้วย เคอร์คิวมิน (curcumin), monodesmethoxycurcumin, bisdesmethoxycurcumin
            น้ำมันระเหยง่าย (volatile oil) มีสีเหลืองอ่อน สารหลักคือเทอร์เมอโรน (turmerone) 60%, ซิงจิเบอรีน (zingiberene) 25%, borneol, camphene, 1, 8 ciniole , sabinene, phellandrene



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า

watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 16, 2017, 12:38:17 pm »

การศึกษาทางเถสัชวิทยาขมิ้นชันที่น่าสนใจน่าศึกษาไว้

บันทึกการเข้า

watamon
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 654


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: สิงหาคม 16, 2017, 12:42:51 pm »

การศึกษาทางเถสัชวิทยาขมิ้นชันที่น่าสนใจน่าศึกษาไว้

บันทึกการเข้า

หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ