เครื่องผลิตแสงยูวี UV

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เครื่องผลิตแสงยูวี UV  (อ่าน 36 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Saiswatka
Drift King
*****

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 22027


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: พฤษภาคม 23, 2018, 02:07:24 pm »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement



เครื่องผลิตแสงยูวี UV

 





ULTRAVIOLET/UV(วัตต์)
 หลอดซิลเทีย, อควา, โมริต
 (วัตต์)ขนาด
 กว้าง x ยาว x สูง x หนา
 (มิลลิเมตร)อัตราการกรอง
 (ลิตร/ชม.)สแตนเลสPower SupplyCedimentท่อน้ำเข้า - ออก
 (นิ้ว)ความดันที่ใช้งาน
 (กก./ตร.ซม.)



6 W
62.5x300x150x1.2
100-500
304
220V.50Hz AC.
245NM
1/2"
1-3


8 W
625x350x150x1.2
300-400
304
220V.50Hz AC.
245NM
1/2"
1-3


15 W
100x500x200x1.2
600-1200
304
220V.50Hz AC.
245NM
3/4"
1-3


20 W
100x652x200x1.2
1000-1800
304
220V.50Hz AC.
245NM
3/4" และ 1"
1-3


30 W
75x960x200x1.2
3000-4500
304
220V.50Hz AC.
245NM
1"
1-3


30 W
100x960x200x1.2
3000-4500
304
220V.50Hz AC.
245NM
1"
1-3


40 W
75x1260x200x1.2
6000-7500
304
220V.50Hz AC.
245NM
1"
1-3


40 W
100x1260x200x1.2
6000-7500
304
220V.50Hz AC.
245NM
1"
1-3






[url=http://www.teewatertech.com]เครื่องกรองย[url=http://www.teewatertech.com]เครื่องผลิตแสงยูวี
80 - 160 วัตต์ (รูปทรงขาตั้งอาจเปลี่ยนแปลง ได้ตามการใช้จริงของลูกค้า)
หลอดไฟพิเศษในการฆ่าเชื้อโรค (UV. Germicical Lamp for Dis-infection)
นายอุดม สิทธิการุณ
 กรรมการบริหาร สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย, http://www.TIEA.net
 กรรมการผู้จัดการ บริษัทสาธิต เอ.วี.แอล.ซัพพลายส์จํากัด, savl@loxinfo.co.th
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลอดพิเศษต่างๆ
หลอดพิเศษต่างๆ ในที่นี้ หมายถึง หลอดไฟที่ไม่ได้มีไว้เพื่อทําให้เกิดแสงที่ตาคนปกติมองเห็น(Visible Light) แต่เป็นหลอดที่ให้ :

  • รังสีอินฟราเรด (Infrared Radiation : IR)
  • รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet Radiation)
รังสีอินฟราเรด (Infrared Radiation : IR)[/b]

รังสี I.R. เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตาคนมองไม่เห็น แต่รับรู้ได้ในรูปของความร้อน การแผ่รังสีอินฟราเรด เป็นหนึ่งในสามวิธีของการเดินทางของความร้อน จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เราแบ่งแยกเป็น

  • IR คลื่นสั้น ความยาวคลื่นตั้งแต่ 780 - 1400 nm
  • IR คลื่นกลาง ความยาวคลื่นตั้งแต่ 1400 - 3000 nm
  • IR คลื่นยาว ความยาวคลื่นตั้งแต่ 3000 - 10000 nm


ความยาวคลื่น(Wave length) มีหน่วยนับเป็นนาโนเมตร (1 Nano-Meter = 10-9 Meter) และมีค่าผกผันกลับของค่าความถี่ (Frequency)



รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet Radiation : UV)

เป็น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สั้น ช่วงต่อจากแสงสีม่วง (ระหว่างVisible Spectrum กับ X-ray) เป็นรังสีที่ตาคนมองไม่เห็น และไม่สามารถรับรู้ได้อย่างคลื่นรังสีอินฟราเรด(IR) เราแบ่งเป็นสามประเภท ดังนี้

  • UV-A ช่วงความยาวคลื่น 315 - 380 nm เป็นรังสี UV ที่ไม่ค่อยมีอันตรายมากนัก สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ได้หลายด้าน โดยเฉพาะทางด้านเคมี, ฟิสิกส์
  • UV-B ช่วงความยาวคลื่น 280 - 315 nm มีผลต่อร่างกายและสิ่งของได้ ก่อให้เกิดการไหม้ของผิวหนัง(Sunburn or Erythematic) และการอักเสบของตาดำได้ แต่มีคุณประโยชน์ในการรักษาโรคผิวหนังบางชนิดได้ รวมถึงการประยุกต์ในงานอุตสาหกรรมเคมี
  • UV-C ช่วงความยาวคลื่น 100 - 280 nm เป็นรังสีที่มีอันตรายต่อร่างกายได้อย่างรุนแรง เช่น ผิวแดงไหม้เกรียม (Erythema) หรือ เยื่อบุตาอักเสบ (Conjunctivitis) ซึ่งเราประยุกต์มาทำประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคได้
** รังสีUV ทุกชนิด ควรระวังไม่ควรให้ถูกผิวหนังหรือตา อย่างต่อเนื่อง **

ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเล[/b]


การเร่งปฏิกิริยาเคมีด้วยแสง (Photochemical Process)

  • การ ทำให้อยู่ตัวหรือแข็งตัวโดยวิธีโพลีเมอไรเซชั่น (Curing & Hardening by Polymerization) ทำให้หมึก, สี, แล็คเกอร์นั้นแห้งภายในระยะเวลาสั้นๆ จึงทำให้ผลิตสินค้าได้รวดเร็วขึ้น และมีต้นทุนถูกลงได้
  • การทำเพลท (Plate)


การตรวจและวิเคราะห์ชิ้นงาน (Detection, Inspection and Analysis) เช่น

ในทางปฏิบัติ การฆ่าเชื้อโรคด้วยการฉายรังสี UV-C ขึ้นกับสององค์ประกอบหลัก คือ


  • ความ ลึกในการแทรกซึม (Depth of Penetration) ของรังสี UV-C ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สำคัญมาก เนื่องจากรังสี UV มีขีดจำกัดในการแทรกซึมผ่านวัตถุ (ยกเว้นน้ำและของเหลวบางชนิด) เพราะผิวชั้นนอกของวัตถุ จะดูดซับรังสีเอาไว้
อันตราย จากรังสีต่างๆ (Possible Hazardous Effects of Such Radiation) ผู้ที่รับการฉายรังสีไม่ควรได้รับรังสีมากไปแต่อย่างไรก็ดี การใช้รังสีUV-C ซึ่งได้จากหลอดฆ่าเชื้อโรคนั้น ก็มีข้อควรสังเกต ดังนี้ :

  • UV-C ต้องถูกเชื้อโรคโดยตรงเท่านั้น ถ้าเชื้อโรคซ่อนอยู่ในเงาของวัตถุ เชื้อโรคนั้นจะไม่ตาย
  • UV-C จะต้องถูกเชื้อโรคเป็นระยะเวลานานพอ (นานแค่ไหนขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อโรค) จึงจะสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ ซึ่งเชื้อโรคบางชนิดทนต่อรังสี UV-C ได้นานมาก
  • UV-C ถูกดูดซึมได้ง่าย จึงควรใช้ในที่อากาศแห้ง เพราะจะมีประสิทธิภาพดีที่สุด และใช้ขนาดDose น้อยที่สุด ถ้าใช้ในอากาศชื้นมาก ๆ ต้องใช้ขนาดDose เป็นสองเท่า ถ้าใช้ในน้ำดื่มธรรมดาจากน้ำก๊อก อาจต้องใช้ขนาดมากถึงสิบเท่า
  • การใช้หลอด UV-C ควรระวังไม่ให้ถูกตาและผิวหนังของคนโดยตรง (ถ้าสะท้อนจากผนัง ก็ต้องคอยระวังไม่ให้นานเกินไป)
ลักษณะใช้งานฆ่าเชื้อโรคด้วยหลอดรังสีเหนือม่วง


การฆ่าเชื้อโรคในอากา
  • ติดหลอดUV ไว้บนเพดาน (Ceiling-mounted UV Lamp) รังสีกระจายทั่วไป ใช้ในเวลาปลอดคน
  • ฉายรังสีสู่อากาศด้านบนของห้อง (Upper-Air Irradiation) โดยใช้โคมหันขึ้น ไม่ส่องลงมาสู่ตาคน
  • ฉายรังสีใส่อากาศที่พื้นห้อง (Floor-Zone Irradiation) ด้วยโคมชนิดหันลง เพื่อฉายรังสีใส่อากาศที่พื้น
  • ในท่ออากาศหรือท่อลม (Air-Ducts) เหมาะสำหรับสถานที่มีระบบปรับอากาศ (Air Conditioning System)
  • ฆ่าเชื้อโรคที่พื้นผิวของวัตถุ (Surface Disinfection) ใช้กับการผลิตอาหารและยา ทั้งโดยตรงหรือภาชนะบรรจุ
  • ฆ่าเชื้อโรคในของเหลว (Liquid Disinfection) ใช้ในการผลิตน้ำดื่ม, น้ำผลไม้, น้ำเลี้ยงปลา, น้ำในสระว่ายน้ำ
ประเภ[/b]


  • Tubular UVGI ทั้งแบบ Standard และ High-output
  • Compact Single-ended UVGI หลอดทั้งสองประเภท เป็นหลอดแบบ Low-pressure Mercury-vapour Discharge Technology
  • High Intensity Discharge Tube เป็นหลอดแบบ Medium-pressure Mercury-vapour มีพลังงานมากกว่า
การประยุกต์ใช้งาน (Applications)


  • สถาน ที่สาธารณะ ที่มีคนอยู่เป็นจำนวนมากหรืออยู่เป็นเวลานาน เช่น ห้องเรียน, ค่ายทหาร, โรงภาพยนตร์, หอประชุม, ห้องรับรอง, สำนักงาน ฯลฯ ให้ติดตั้งหลอด UVGI ในท่อฆ่าเชื้อโรคในอากาศ (Air-disinfecting Duct), ท่อปรับสภาพอากาศ (Air-conditioning Duct)
  • โรง พยาบาล (Hospital) ตึกคนไข้, ห้องตรวจ, ที่พักคอย, ครัว, ที่เก็บเครื่องมือผ่าตัดและอุปกรณ์ของใช้ต่างๆ อาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage) ทั้งขั้นตอน ขณะผลิต, บรรจุหีบห่อ, จัดเก็บ หรือส่งสินค้าจำหน่าย
  • อุตสาหกรรมการผลิตเวชภัณฑ์ (Pharmaceutical Industry) รวมถึง สารปฏิชีวนะ ยา และ เครื่องสำอาง
  • ห้องครัว (Kitchen) ในตู้เย็น
  • การป้องกันสัตว์ป่วย (Animal Protection) ใช้กับเรือนปศุสัตว์, คอก, ฟาร์ม, เล้า, กรงขัง รวมไปถึงสวนสัตว์ได้
  • อุปกรณ์สำหรับการบรรจุหีบห่อ (Packaging Material) และการปิดผนึก (Sealing)
  • ห้องทดลอง (Laboratory) และเครื่องมือทดลองต่างๆ
  • Water Purification เช่น Drinking Water, Aquarium, Swimming Pools, Supplementing Chlorination
วิธีการจัดส่งสินค้า
บริการจัดส่งสินค้า ทั่วประเทศ ผ่านบริษัท ขนส่ง [url=http://www.teewatertech.com]ฟรี ค่าบริการจัดส่งสินค้
  • ภาคอีสานและภาคกลาง ผ่าน IT TRANSPORT CO.,LTD. Telephone : 02-1911101-4 , 090-2628646 , 087-6426039
  • ภาคเหนือ ผ่าน บริษัท นิ่มซี่เส็ง สาขา ตลาดไท
  • ภาคใต้ผ่านบริษัท ภูเก็ตศรีสุชาติขนส่ง
บริษัท ทีที วอเตอร์เทค จำกัด (สำนักงานใหญ่) เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 0105560194629   
 ที่อยู่ 84 ถนน ไทยรามัญ แขวง คลองสามวาตะวันตก เขต คลองสามวา จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10510 
 โทรศัพท์ 02-005-7109 097-4404646   Line : 097-440-4646  Email :
twwatersystem@gmail.com  w.w.w.twwatersystem.com
 


 

ขอบคุณบทความจาก : [url=http://www.ttwatertechs.com/productdetail.asp?pid=31347][url]http://www.ttwatertechs.com/productdetail.asp?pid=31347[/url]

Tags : รับติดตั้งโรงงานผลิตน้ำดื่ม,ระบบผลิตน้ำดื่ม,เครื่องผลิตแสงยูวี



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

ฐานข้อมูลผิดพลาด
ลองอีกครั้ง ถ้าเกิดการผิดพลาดอีกครั้ง ให้แจ้งผู้ดูแลระบบด้วย
กลับ