พ่วงแบตเตอรี่รถยนต์

Advertisement


หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: พ่วงแบตเตอรี่รถยนต์  (อ่าน 1227 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Mmint
หัดขับ
*

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 16


ดูรายละเอียด อีเมล์










« เมื่อ: ตุลาคม 28, 2018, 10:58:46 am »



ล้อแม็ก แม็ก แม็กซ์แต่งรถ

↑ ลงทะเบียนรับข่าวสาร

ล้อแม็ก

Advertisement

พ่วงแบตเตอรี่รถยนต์ ถูกวิธี ปลอดภัย

ลดความเสี่ยง
 ปภ.​ ​แนะเลือกใช้และพ่วงแบตเตอรี่

รถยนต์ถูก​​วิธี​ ​พ่วงแบตเตอรี่ไม่ติด

พ่วงแบตเตอรี่ผิดขั้ว จะไม่เกิดขึ้น ถ้า

เรามาเรียนรู้ทักษะการพ่วงแบตเตอรี่

รถยนต์ถูก​​วิธี

          แบตเตอรี่รถยนต์เป็นอุปกรณ์จัด

เก็บและจ่ายกระแสไฟฟ้าของรถยนต์

ซึ่งบ่อยครั้งที่ผู้ขับขี่มักประสบปัญหา

แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ ทำให้เครื่อง

ยนต์ดับและสตาร์ทไม่ติด การพ่วง

แบตเตอรี่จึงเป็นการแก้ไขปัญหา

เฉพาะหน้า เพื่อให้ระบบไฟฟ้าทำงาน

ได้ตามปกติในระยะเวลาสั้น​ ​ๆ ก่อนนำ

รถไปตรวจสอบ ซึ่งการพ่วงแบตเตอรี่

รถยนต์อย่างไม่ถูกวิธี​ อาจก่อให้เกิด

อันตรายได้

          เพื่อความปลอดภัย กระทรวง

มหาดไทย โดยกรมป้องกันและ

บรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ก็มีข้อ

แนะนำดี ๆ  เกี่ยวกับการเลือกใช้

แบตเตอรี่ และพ่วงแบตเตอรี่รถยนต์

อย่างถูกวิธี ดังนี้
การเลือกใช้แบตเตอรี่รถยนต์

          ​- ​ใช้แบตเตอรี่รถยนต์ที่ได้

มาตรฐาน มีเครื่องหมายรับรอง

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม​

(มอก.) และผ่านการทดสอบ

มาตรฐานความปลอดภัย
          ​- ​เลือกแบตเตอรี่ที่มีขนาด

เหมาะสมกับการใช้งานของรถแต่ละรุ่น

โดยมีขนาดแอมแปร์เท่ากับ​ห​รือ

มากกว่าที่ติดมากับรถยนต์
          ​- ​มีความจุไฟฟ้าเหมาะสมกับ

ปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าของรถ

หากมีการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม อาทิ

เครื่องเสียง ให้ใช้แบตเตอรี่ที่มีขนาด

แอมแปร์สูงขึ้น

การพ่วงแบตเตอรี่รถยนต์

          -  ปิดสวิตช์และอุปกรณ์ไฟฟ้า

ทั้งหมดของรถ
          -  นำรถคันที่มีแบตเตอรี่ปกติมา

จอดใกล้ ๆ เพื่อต่อสายพ่วงแบตเตอรี่
          -  นำสายพ่วงแบตเตอรี่ขั้วบวก

(สีแดง) ต่อกับแบตเตอรี่ขั้วบวกของ

รถคันที่แบตเตอรี่หมดก่อน แล้วมาต่อ

กับรถที่มาช่วย
          -  นำสายพ่วงแบตเตอรี่ขั้วลบ

(สีดำ) ต่อกับแบตเตอรี่ขั้วลบของรถ

คันที่มาช่วย อีกฟากให้หนีบที่โลหะใน

เครื่องยนต์ เป็นการสร้างระบบ

กราวนด์ของแบตเตอรี่
          -  สตาร์ทเครื่องยนต์รถคันที่มี

แบตเตอรี่ทิ้งไว้ประมาณ 3 นาที แล้ว

เร่งเครื่องยนต์เล็กน้อย เพื่อให้

แบตเตอรี่มีการไหลเวียนของประจุ

ไฟฟ้า
          -  สตาร์ทเครื่องยนต์รถคันที่

แบตเตอรี่หมด พร้อมเร่งเครื่องในอัตรา

1,500–2,000 รอบต่อนาที เพื่อ

ตรวจสอบว่ามีประจุไฟฟ้าเข้าหลังจาก

การชาร์จไฟแบตเตอรี่หรือไม่

          -  ถอดสายพ่วงรถคันที่

แบตเตอรี่หมดและถอดสายพ่วงรถคัน

ที่มีแบตเตอรี่ปกติออก
          -  นำรถเข้าศูนย์บริการ เพื่อ

ตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์และ

เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่

ข้อควรระวังในการพ่วงแบตเตอรี่รถ

ยนต์

          -  ไม่สตาร์ทเครื่องยนต์และเปิด

ระบบไฟของรถทั้งสองคัน เพราะจะทำ

ให้เกิดประกายไฟ ส่งผลให้เกิดการ

ระเบิด

ได928bet

[/url]
          -  ไม่ต่อสายพ่วงเข้ากับขั้วลบ

ของแบตเตอรี่ของรถคันที่แบตเตอรี่

หมด เพื่อป้องกันแบตเตอรี่ระเบิด
          -  ห้ามสูบบุหรี่ จุดไฟแช็ก หรือ

ก่อให้เกิดประกายไฟ เพราะในขณะ

ต่อสายพ่วงแบตเตอรี่จะมีแก๊สบริเวณ

ดังกล่าว ทำให้เกิดการระเบิดได้
          -  สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันดวงตา

และถุงมือทุกครั้งที่สัมผัสแบตเตอรี่

เพราะน้ำกรดในแบตเตอรี่เป็นสารกัด

กร่อน  ทำให้ได้รับอันตราย

ได928bet

[/url]
          -  ระมัดระวังไม่ให้แบตเตอรี่

เอียงหรือตะแคง เพราะน้ำกรดอาจรั่ว

ไหลออกมาทางรูระบาย ก่อให้เกิด

อันตรายได้
          -  ระมัดระวังไม่ให้ปลายสาย

พ่วงแบตเตอรี่สัมผัสกัน เพราะจะทำ

ให้ไฟฟ้าลัดวงจร

**แก้ไขข้อมูลล่าสุดเมื่อเวลา 19.40

น. วันที่ 28 มกราคม 2560
ขอขอบคุณทุกท่านสำหรับการทัก

ท้วงข้อมูลที่ผิดพลาดไว้ ณ ที่นี้ ด้วย

ครั928bet

[/url]

          แม้การพ่วงแบตเตอรี่จะ

สามารถทำเองได้ แต่ต้องเพิ่มความ

ระมัดระวัง เนื่องจากแบตเตอรี่มีน้ำกรด​

เป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งมีคุณสมบัติ

กัดกร่อนพื้นผิว อีกทั้งในขณะที่

แบตเตอรี่ทำงาน จะเกิดการสะสมของ

ก๊าซไฮโดรเจน หากมีประกายไฟจะ

ทำให้เกิดการระเบิดได้

ข​อขอบคุณข้อมูลจาก
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

(ปภ.)



GPSราคาถูก | เครื่องฟอกอากาศในรถยนต์ | Ran Online | Ragnarok | โปรโมชั่น | เกมส์ออนไลน์

Promotion
บันทึกการเข้า
Dorrisliza
หัดขับ
*

การ์ม่า: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2019, 05:56:53 pm »

หากเพียงแค่ดูตามสีได้หรือเปล่าครับ

บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: